น้องเลี้ยง นางสาวปภานิจ สวงโท หน่วยงานสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การป้องกันควบคุมอหิวาตกโรค ระดับจังหวัด ของ
การระบาดของอหิวาตกโรคจังหวัดตาก
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
วิธีการทางวิทยาการระบาด
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
พลตรี นพดล พิศวง รองผอ.รมน.สระบุรี
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
กลุ่มที่ ๒ โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
กลุ่มที่ 3.
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
จุฑาทิพย์ ชมภูนุช สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
และการนำไปใช้ประโยชน์
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

น้องเลี้ยง นางสาวปภานิจ สวงโท หน่วยงานสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค โครงการ พัฒนาความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวังในพื้นที่พักพิงตามแนวชายแดนไทย-พม่า น้องเลี้ยง นางสาวปภานิจ สวงโท หน่วยงานสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

ความเป็นมา บอกความสำคัญของปัญหา และ ความเกี่ยวข้องกับหน่วยงานที่ท่านสังกัด สำนักระบาดวิทยาได้ตั้งระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อในศูนย์พักพิงตามแนวชายแดนไทย – พม่า ขึ้นตั้งแต่ปี ๒๕๔๕ แต่ยังไม่มีการพัฒนาระบบเฝ้าระวังให้มีความเข้มแข็งมากขึ้น มีโรคติดต่อร้ายแรง ที่มีโอกาสแพร่กระจายและก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพต่อประชาชนในประเทศไทยได้ จึงจำเป็นต้องพัฒนาความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวังดังกล่าว จำเป็นต้องบูรณาการการทำงานของหน่วยงาน ต่าง ๆ ที่รับผิดชอบด้านการเฝ้าระวังโรคติดต่อในศูนย์พักพิงตามแนวชายแดนให้สอดคล้องกัน

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อในศูนย์พักพิงตามแนวชายแดนไทย-พม่า เพื่อทราบสถานการณ์และปัญหาของโรคติดต่อสำคัญในพื้นที่พักพิงตามแนวชายแดนไทย-พม่า เพื่อหาข้อเสนอแนะในการพัฒนาความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อตามแนวชายแดนไทย - พม่า

วิธีการศึกษา (๑) รูปแบบการศึกษา การศึกษาเชิงพรรณนา (descriptive study) ทบทวนระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อตามแนวชายแดนไทย-พม่า รวบรวมรายงานการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคจากศูนย์พักพิงตามแนวชายแดนไทย พม่า ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๕๒ ศึกษาสถานการณ์โรคติดต่อในศูนย์พักพิงตามแนวชายแดนในประเทศไทย ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังของสำนักระบาดวิทยา ข้อมูล HIS system ของ CCSDPT (Committee for Coordination of Services to Displaced Persons in Thailand )

วิธีการศึกษา (๒) รูปแบบการศึกษา (ต่อ) ประชากรกลุ่มเป้าหมาย และจำนวน ประสานงานร่วมกับองค์กรที่เกี่ยวข้องเพื่อบูรณาการระบบเฝ้าระวังในศูนย์พักพิงตามแนวชายแดนไทย-พม่า ร่วมกันหาข้อมูล อุปสรรค์ในการดำเนินการเฝ้าระวังโรค ฯ ร่วมกัน ประชากรกลุ่มเป้าหมาย และจำนวน เจ้าหน้าที่องค์กรต่าง ๆที่รับผิดชอบในศูนย์พักพิงที่เกี่ยวข้อง แห่งละ ๕ คน พื้นที่ศึกษา หรือดำเนินโครงการ ศูนย์พักพิงบ้านต้นยาง จ.กาญจนบุรี และบ้านใหม่ในสอย จ.แม่ฮ่องสอน

วิธีการศึกษา (๓) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล หน่วยงาน NGOs ที่รับผิดชอบศูนย์พักพิงแต่ละแห่ง ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐ ด้านสาธารณสุข (TUC ) CCSDPT (Committee for Coordination of Services to Displaced Persons in Thailand ) องค์การอนามัยโลก ประจำประเทศไทย แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ การนำผลไปใช้ประโยชน์ ได้รูปแบบระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อตามแนวชายแดนที่มีความเข้มแข็ง ทราบสถานการณ์และปัญหาโรคติดต่อสำคัญตามแนวชายแดนไทย -พม่า และใช้ข้อมูลจากการเฝ้าระวังโรคในการวางแผนป้องกัน ควบคุมโรค บูรณาการระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อตามแนวชายแดนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ระยะเวลาที่ศึกษา กิจกรรม ทบทวนเอกสาร ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ทบทวนเอกสาร / ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อบูรณาการระบบเฝ้าระวัง รวบรวมข้อมูลสถานการณ์ต่าง ๆ ศึกษาระบบเฝ้าระวังฯ วิเคราะห์ข้อมูลการเฝ้าระวัง ฯ จัดทำรายงาน

งบประมาณและแหล่งทุน งบประมาณภายใต้โครงการนิเทศติดตามและประเมินผลภาพรวมของระบบเฝ้าระวัง กิจกรรม การบริหารจัดการ ควบคุมกำกับติดตาม ประเมินผลระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ กรมควบคุมโรค

ทีมงาน น้องเลี้ยงพี่เลี้ยงที่ปรึกษา เจ้าหน้าที่กลุ่มงานระบาดวิทยาโรคติดต่อ สำนักระบาดวิทยา