สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังและ สถานการณ์ที่สำคัญ มิถุนายน 2551 กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขอนแก่น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
รายงาน เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว นาย สุรัชชัย สายโอภาส ม. 5/3
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.
สภาวะ ปกติ เอ นิโญ่ ลา นิญ่า คลื่นมีฐานกว้าง 100 กม. สูงเพียง 1 ม คลื่นมีฐานกว้าง 100 กม. สูงเพียง 1 ม. เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ.
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 สิงหาคม 2551 สัปดาห์ที่ 32_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 กุมภาพันธ์ 2551 สัปดาห์ ที่ 6_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม – 10 พฤษภาคม 2551 สัปดาห์ที่ 19_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
พยากรณ์โรคมือเท้าและปากในพื้นที่เขต18 (Hand Foot and Mouth Disease)
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ไข้เลือดออก.
โรคที่ต้องควบคุมโรคอย่างเร่งด่วน ประจำเดือนตุลาคม 2549 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
นพ.สมจิตร ศรีศุภร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
รายงานการเฝ้าระวังโรคช่วงสถานการณ์อุทกภัย จังหวัดนครปฐม 21 พฤศจิกายน 2554 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน พฤษภาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ข้อมูล ณ 20 มิถุนายน 2550 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม กรกฎาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ระบาดวิทยาและ SRRT.
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
ผู้หาข่าว  นายสีชาด หนุน พระเดช ข่าวความเป็นมา  ศูนย์กลางแผ่นดินไหวห่างจากกรุง ปอร์โตแปรงซ์ เมืองหลวงของประเทศไปราว 25 กิโลเมตร ( หรือ 16 ไมล์ ) โดยแผ่นดินไหว.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังและ สถานการณ์ที่สำคัญ มิถุนายน 2551 กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขอนแก่น

จำนวนผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 10 และ 12 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 18 มิถุนายน 2551 ที่มา รายงาน AI1, AI2

ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 10 และ 12 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 18 มิถุนายน 2551 ที่มา : ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์

โรค มือ เท้า ปาก พื้นที่เขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2551 แหล่งข้อมูล: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค อัตราป่วย / ประชากรแสนคน

จำนวนผู้ป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 10 และ 12 เปรียบเทียบ ค่ามัธยฐาน (ปี 2546 – 2550) ที่มา รายงาน 506

อัตราป่วย : ปชก.แสนคน อัตราป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 10 และ 12 มกราคม – 19 มิถุนายน 2551 ที่มา รายงาน 506 มีผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น 327 ราย อัตราป่วย 4.33 ต่อประชากรแสนคน

จากการทบทวนรายงานสอบสวนโรคในประเทศไทย ปี 2550 * สำนักระบาดได้รับแจ้งข่าวการระบาดจำนวน 121 เหตุการณ์ ได้รับรายงาน สอบสวนโรค 118 เหตุการณ์ - ชุมชน/ ครอบครัว 52 เหตุการณ์ (44%) ผู้ป่วยรวม 80 ราย - ศูนย์เด็กเล็ก 41 เหตุการณ์ (35 %) ผู้ป่วยรวม 449 ราย - โรงเรียนอนุบาล/โรงเรียนประถมศึกษา 23 เหตุการณ์ (19%) จำนวนผู้ป่วย 290 ราย สถานที่เกิดการระบาดใน พื้นที่พบการระบาด จังหวัดขอนแก่น : อ.เมือง อ.หนองสองห้อง อ.ชนบท จังหวัดร้อยเอ็ด : อ.โพนทอง อ.เมยวดี

สถานการณ์อหิวาตกโรค พื้นที่เขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2551 แหล่งข้อมูล: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค อัตราป่วย / ประชากรแสนคน

สถานการณ์อหิวาตกโรค พื้นที่รับผิดชอบ สคร.ขก. ปี จังหวัดหนองคาย 1 ราย (อ.เมือง) อุดรธานี 4 ราย (อ.กุดจับ 2 ราย อ.เมือง 1 ราย อ.หนองแสง 1 ราย) ขอนแก่น 1 ราย (อ.พล)

ภัยพิบัติแผ่นดินไหวที่ประเทศจีน

เมื่อวันจันทร์ที่ 12 พฤษภาคม 2551 เวลา น. เกิดแผ่นดินไหว 7.8 ริกเตอร์ ทางตะวันออกของมณฑล เสฉวน ประเทศจีน จุดศูนย์กลางที่เมือง เฉิงตู และมี Aftershock ริก เตอร์ ตามมาอีกหลายครั้งอย่างต่อเนื่อง สาเหตุเกิดจากการขยับตัว แบบย้อนกลับ (Reverse Fault) ของรอยเลื่อน “ลอง เมนฉาน” (Longmenshan) ในอดีต เมื่อ 25 ส.ค มณฑล เสฉวน เคยเกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.5 ริกเตอร์ มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 9,300 คน

แผ่นดินไหวที่ประเทศญี่ปุ่น วันที่ 14 มิ.ย เกิดแผ่นดินไหว ขนาด 6.8 ริกเตอร์ ความลึก 8-10 กม. มีศูนย์กลางอยู่ห่างจากเมืองเซนไดใน จังหวัดอิวาเตะ ไปทางเหนือ 100 กม. aftershock ขนาด 4.4 – 5.5 ริกเตอร์ ตามมาอีก 40 ครั้ง การเกิดแผ่นดินไหวครั้งนี้ไม่กระทบ ต่อประเทศไทย

สาเหตุ : จากการเคลื่อนตัวของแผ่น เปลือกโลกแปซิฟิกมุดตัวลงใต้แผ่น เปลือกโลก North America ด้วยอัตรา ความเร็ว 9.4 มิลลิเมตรต่อปี ทำให้ รอยเลื่อนเกิดการเคลื่อนตัวแบบ ย้อนกลับ (Reverse Fault)

คืออาการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ปกติเกิดจากการเคลื่อนไหว ของชั้นเปลือกโลก ความรุนแรงมีตั้งแต่ที่มนุษย์ไม่รู้สึกจนถึงขั้น ที่เกิดความเสียหายพังทลายของสิ่งก่อสร้างต่างๆ เช่น อาคาร บ้านเรือน ถนนหนทาง เขื่อน เป็นต้น แผ่นดินไหว 2. วัดระดับความรุนแรงในการสั่น (intensity) มาตรวัด เรียกว่า Mercalli seale มีขนาดตั้งแต่ 1-12 การวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหว วัดได้ 2 วิธีคือ 1. วัดขนาด (magnitude) โดยใช้เครื่องวัดแผ่นดินไหว (seismograph) มีหน่วยเป็นริคเตอร์ (Richter seale) มีขนาดตั้งแต่ 1.0 (รุนแรงน้อย) ถึง 9.0 (รุนแรงมาก)

เล็กน้อย ผู้คนเริ่มรู้สึกถึงการมาของคลื่น มีอาการวิงเวียนเพียง เล็กน้อยในบางคน เล็กน้อย ผู้คนที่อยู่ในอาคารรู้สึกเหมือนมีอะไรมาเขย่าอาคารให้ สั่นสะเทือน ปานกลาง ผู้ที่อาศัยอยู่ทั้งภายในอาคาร และนอกอาคาร รู้สึกถึงการ สั่นสะเทือน วัตถุห้อยแขวนแกว่งไกว รุนแรง เป็นบริเวณกว้าง เครื่องเรือน และวัตถุมีการเคลื่อนที่ รุนแรงมาก อาคารเริ่มเสียหาย พังทลาย 7.0 ขึ้นไป เกิดการสั่นสะเทือนอย่างมากมาย ส่งผลทำให้อาคารและ สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เสียหายอย่างรุนแรง แผ่นดินแยก วัตถุ บนพื้นถูกเหวี่ยง มาตรวัดริคเตอร์

ซักถาม & ข้อเสนอแนะ