สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
รายประเด็น ปีงบประมาณ 2553
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 ราชบุรี
การสร้างและพัฒนา เครือข่ายองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น เพื่อผลักดัน นโยบายการป้องกัน ควบคุมโรคในพื้นที่ รับผิดชอบของ สำนักงาน ป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์ ถอดบทเรียนความก้าวหน้า โครงการการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เพื่อแก้ไขปัญหาโรคและภัยสุขภาพ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์

แรงบันดาลใจ จากสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ เบาหวาน ความดันและหลอดเลือด รวมถึงโรคติดต่อประจำถิ่น เช่น ไข้เลือดออก อาหารเป็นพิษ ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งที่ประชาชนสามารถป้องกันโรคได้ด้วยตนเอง จากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ดังนั้นควรให้ความสำคัญในการแก้ไขปัญหาระยะยาวอย่างต่อเนื่อง โดยชุมชน จึงจำเป็นต้องมีแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ขึ้น

สิ่งที่อยากให้เกิด มีแผนแก้ไขปัญหาระยะยาวอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน คิดโดยชุมชนทำเพื่อชุมชนเอง

กิจกรรมที่ทำ ขั้นเตรียมการ : ตั้งคณะทำงาน วางแผน ประสานหน่วยงาน ร่วมกันคัดเลือกพื้นที่ (คุณสมบัติเข้มแข็ง มีความพร้อม และมีรอยโรคในพื้นที่) ขั้นดำเนินการ : วิเคราะห์บริบทชุมชน กำหนดจุดหมายปลายทาง จัดทำ SLM ระยะ 1 ปี จัดทำตาราง 11 ช่อง แปลงกิจกรรมสู่การปฏิบัติในชุมชน ขั้นสรุปและประเมินผล เชิงคุณภาพ ได้แก่ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการทำกิจรรมร่วมกัน ความพึงพอใจของชุมชนที่มีต่อกระบวนการสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ เชิงปริมาณ ได้แก่ จำนวนประชาชนเข้าร่วมประชุมตามเป้าหมายร้อยละ 80

ขั้นสรุปและประเมินผล ผลที่เกิด ขั้นเตรียมการ ขั้นดำเนินการ ขั้นสรุปและประเมินผล คณะทำงานและเครือข่าย แผนงาน พื้นที่ดำเนินการ SRM ของชุมชน กิจกรรมแก้ไขปัญหา บทเรียน ผลการประเมิน

ความก้าวหน้า ความสำเร็จ ความภาคภูมิใจ ได้เครือข่ายความร่วมมือจากจังหวัด และ อปท. ได้พื้นที่ดำเนินการ 4 แห่ง ได้รับการเสนอเป็นโครงการคุณภาพ และผลงานเด่นของ สคร.8 ประจำปีงบฯ 53 และในเวที คปสข. ระดับเขต

เส้นทางสู่ความสำเร็จ Not one man show, Must teamwork and network. คณะทำงานมีความสามัคคี มีใจในการทำงาน ความร่วมมือ และมีส่วนร่วมในการทำงาน

สิ่งที่ยังไม่ได้ดั่งใจ ศักยภาพบุคลากรในทีมมีฐานความรู้ไม่เท่ากัน ไม่มีหลักสูตรคู่มือการถ่ายระดับเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติเบื้องต้น ระยะเวลา งบประมาณ

สิ่งที่ได้มาโดยมิได้คาดหวัง ความเสี่ยง จากปัญหา อุปสรรค ที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่

ใจ ความคิด ความรู้ ทักษะ ที่ได้ ทักษะการสื่อสาร ต้องมีภาษาชาวบ้าน แสดงความจริงใจ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ทำให้เกิดความเชื่อใจ มิตรภาพ หัวใจวิทยากรกระบวนการ เพื่อชักนำให้เกิดกระบวนการกลุ่มที่ราบรื่น พรสวรรค์ และพรแสวง