การวิเคราะห์ Competency
1. เพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานที่มีคุณภาพ 2. เพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหาความขัดแย้งในเรื่องค่าตอบแทน 3. เพื่อหารูปแบบ/วิธีการ/แนวทางใหม่ๆในการพัฒนาฝีมือแรงงาน
1. สามารถกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานของพนักงาน 2. สามารถจัดทำหลักสูตรฝึกอบรมพนักงาน 3. มีแนวทางสรรหาคัดเลือกพนักงานใหม่ 4. มีแนวทางในการพิจารณาค่าตอบแทนพิเศษให้พนักงาน 5. มีแนวทางประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงาน
ประโยชน์ของพนักงาน ได้รับค่าจ้างค่าตอบแทนตามความสามารถ มีความก้าวหน้าในอาชีพเกิดความ มั่นคงในการทำงาน และมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เกิดแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และมีความต้องการพัฒนาฝีมือ ของตนเอง ให้ทันต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง
ขั้นตอนการดำเนินการ 1 บริษัทขอความอนุเคราะห์เรื่อง การจัดเกณฑ์มาตรฐานของตำแหน่ง 2 สพภ./ศพจ. แต่งตั้งคณะทำงานวิเคราะห์ Competency 3 จัดประชุมคณะทำงานวิเคราะห์ Competency 4 คณะทำงานวิเคราะห์ Competency ตำแหน่งงาน 5 กำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานเฉพาะตำแหน่งงาน 6 กำหนดวิธีการทดสอบมาตรฐานฝีมือฯตำแหน่งงาน 7 กำหนดหลักสูตรการฝึกอบรมตำแหน่งงาน 8 นำผลการทำงานเสนอผู้บริหารของบริษัท ให้ความเห็นชอบ 9 นำผลการทำงานเสนอคณะการส่งเสริมฯ ให้ความเห็นชอบ 10 นำผลงานที่ได้ไปปฏิบัติให้กับพนักงานในตำแหน่ง
หน้าที่คณะทำงาน คณะทำงานจะดำเนินการสัมภาษณ์พนักงาน/หัวหน้างาน ดูการปฏิบัติงานจริง เพื่อแยกแยะงานหลัก(Duty) และงานย่อย(Task) ต่างๆ ตลอดจนดำเนินการวิเคราะห์รายละเอียดของงานย่อยทุกงาน เพื่อนำมาจัดทำมาตรฐานเฉพาะ
วิธีดำเนินการ ประชุมคณะทำงาน ดูจากการทำงานจริง สัมภาษณ์พนักงาน
** งานหลักทุกตัวรวมกัน จะได้ตำแหน่งงานหรืออาชีพ ** การวิเคราะห์งานหลัก แบ่งงานออกเป็นกลุ่มใหญ่ งานแต่ละกลุ่มต้องมีงานย่อย อย่างน้อย 2 งาน เป็นงานหลักๆ ที่ต้องทำในตำแหน่งนั้น เรียงลำดับขั้นตอนงาน ** งานหลักทุกตัวรวมกัน จะได้ตำแหน่งงานหรืออาชีพ **
งานหลัก (Duty)
งานย่อย (Task) 1. มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดที่แน่นอน 2. ดำเนินการเสร็จได้ในระยะเวลาอันสั้น 3. ดำเนินการได้อย่างมีอิสระจากงานอื่น 4. สังเกตเห็น หรือ วัดได้ 5. มีขั้นตอนการปฏิบัติงานอย่างน้อย 2 ขั้นตอน 6. ชื่องานขึ้นต้นด้วยคำกริยา 7. เป็นงานที่ต้องทำจริงๆ ในปัจจุบัน 8. ชื่องานควรจะสื่อถึงงานที่จะต้องปฏิบัติ 9. เรียงลำดับงานย่อยแต่ละงาน
งานย่อย (Task)
การวิเคราะห์รายละเอียดของงานย่อย
แบบวิเคราะห์งานย่อย (Task Analysis)
แบบพิจารณาน้ำหนักคะแนน
วิธีคำนวณ การจัดทำข้อสอบจากแบบพิจารณาน้ำหนัก ขั้นตอนในการจัดทำข้อสอบ กำหนดจำนวนข้อทั้งหมด คำนวณว่าแต่ละงานย่อย(Task)ใช้ข้อสอบจำนวนกี่ข้อ สูตรคำนวณจำนวนข้อสอบแต่ละงานย่อย (Task) จำนวนข้อสอบแต่ละ Task = ค่าน้ำหนักรวมแต่ละTask คะแนนรวมของ Task ทั้งหมด x จำนวนข้อสอบที่กำหนด
ตัวอย่าง กรณีต้องการข้อสอบ 100 ข้อ มีงานย่อยทั้งหมด 9 งานย่อย มีงานย่อยทั้งหมด 9 งานย่อย 1. รวมคะแนนแต่ละtask ( ตามแนวนอน ) เช่น Task 1 = 11 คะแนน Task 2 = 15 คะแนน Task 3 = 24 คะแนน Task 4 = 20 คะแนน Task 5 = 21 คะแนน Task 6 = 21 คะแนน Task 7 = 21 คะแนน Task 8 = 21 คะแนน Task 9 = 17 คะแนน 2. รวมคะแนน Task ทั้งหมด = 171 คะแนน
2. เข้าสูตร คำนวณจำนวนข้อสอบแต่ละงานย่อย (Task) ดังนี้ จำนวนข้อสอบ Task 1 = 11 x 100 = 7 ข้อ 171 จำนวนข้อสอบ Task 2 = 15 x 100 = 9 ข้อ จำนวนข้อสอบ Task 3 = 24 x 100 = 14 ข้อ จำนวนข้อสอบ Task 4 = 20 x 100 = 12 ข้อ จำนวนข้อสอบ Task 5 = 21 x 100 = 12 ข้อ จำนวนข้อสอบ Task 6 = 21 x 100 = 12 ข้อ จำนวนข้อสอบ Task 7 = 21 x 100 = 12 ข้อ จำนวนข้อสอบ Task 8 = 21 x 100 = 12 ข้อ จำนวนข้อสอบ Task 9 = 17 x 100 = 10 ข้อ ดังนั้น รวมจำนวนข้อสอบ Task 1- Task 9 = 100 ข้อ
ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ Competency
(ตัวอย่าง) มาตรฐานฝีมือแรงงานเฉพาะ
(ตัวอย่าง) ชุดข้อสอบภาคความรู้
(ตัวอย่าง) ใบให้คะแนนภาคปฏิบัติ
(ตัวอย่าง) หลักสูตรฝึกอบรม
การใช้สารสนเทศจัดทำหลักสูตรฝึกอบรม 1. การฝึกอบรมตามหลักสูตรต่างๆ (Core Curriculum) - สมัครอบรมตามเวลาที่กำหนด - อบรมตามคำขอของสถาน ประกอบกิจการ - Core Curriculum - Tailor-made
การใช้สารสนเทศจัดทำหลักสูตรฝึกอบรม 2. ฝึกอบรมตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 การฝึกเตรียมเข้าทำงาน 30 ชม. การฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน 6 ชม. การฝึกปรับเปลี่ยนสาขาอาชีพ 18 ชม.
การใช้สารสนเทศจัดทำหลักสูตรฝึกอบรม 3. การฝึกอบรมด้วยตนเองแบบอิงความสามารถ ( Competency based Skill Training)
การวิเคราะห์สมรรถนะ Competency จะทำให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่สมบูรณ์ของตำแหน่งต่างๆ ทำให้สถานประกอบกิจการสามารถดำเนินการฝึกอบรม On the job training หรือ Off the job training โดยให้สอดคล้องกับการใช้สิทธิประโยชน์ตามพ.ร.บ. ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ.2545 ได้ด้วยตนเอง จึงอาจนับได้ว่าเป็นนวัตกรรมการพัฒนาฝีมือแรงงานไทย