จิราณี ปัญญาปิน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ พย.ม. การผดุงครรภ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การพัฒนางานอนามัยการเจริญพันธุ์ ปี
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
HPC 11 กรอบแนวทางการดำเนินงาน นโยบายกรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11 ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มยุทธศาสตร์ 31 กค. 52.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มีมาตรการดูแลสุขภาพแม่และเด็กในชุมชน
วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
มาตรฐาน รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
ส่งเสริมสัญจร.
โครงการสำคัญตามนโยบาย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน ประเด็น พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จิราณี ปัญญาปิน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ พย.ม. การผดุงครรภ์ บริการที่น่าไว้วางใจ สำหรับหญิงตั้งครรภ์ เพื่อป้องกันทารกน้ำหนักตัวน้อย จิราณี ปัญญาปิน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ พย.ม. การผดุงครรภ์

หลักการและเหตุผล ทารกแรกเกิด น้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมเป็นปัญหาสำคัญด้านงานอนามัยแม่และเด็กในหลายประเทศ,หลายๆจังหวัด ในประเทศไทย อำเภอเชียงแสน ที่มีอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย มากกว่าเกณฑ์ชี้วัดมาโดยตลอด MCH Board เชียงแสน-ดอยหลวง จึงมีความตื่นตัวต่อปัญหา ในการสังเกตพบความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นและป้องกันความเสี่ยงหรือผลกระทบที่จะตามมา

ผู้รับบริการทั้งชาวไทยพื้นราบ ชาวเขาและต่างประเทศ MCH BOARD Chiang Saen-Doiloung ผู้รับบริการทั้งชาวไทยพื้นราบ ชาวเขาและต่างประเทศ หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ปี 2554 รวม 706 ราย เฉลี่ยผู้มารับบริการฝากครรภ์ 60-80 ราย/วัน เฉลี่ยผู้มารับบริการคลอด 2 ราย/วัน,580-600 ราย/ปี

ยุทธศาสตร์พัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2553- 2556 GOAL ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กเติบโต พัฒนาการสมวัย ปี 2553- 2556 ……………………………………………………….. BA=30:1000 เกิดมีชีพ LBW = 7% นมแม่ : 50% พัฒนาการสมวัย= 90% เด็ก 3 ปีฟันไม่ผุ=43% เด็กน้ำหนักตามเกณฑ์อายุ=85% เด็กส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ =43% เด็กรูปร่างสมส่วน=85% หญิงตั้งครรภ์ขาดไอโอดีน=50% เป้าหมาย แม่และเด็กมีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น 1.ฝากท้องเร็ว 2. กินนมแม่ 3.เล่า/อ่านนิทานให้ลูกฟัง 4. เล่นกับลูก 5. อาหารตามวัย

อัตราการเกิดภาวะ LBW อำเภอเชียงแสน-ดอยหลวง

ปัจจัยสาเหตุของการเกิด LBW

ความเป็นมาและความสำคัญ การคลอดก่อนกำหนด Preterm labor ภาวะทารกเจริญเติบโต ช้าในครรภ์ [IUGR] ทารกแรกเกิด น้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม LBW (Matin., et al, 2008)

ปัจจัยที่สามารถป้องกัน Low Birth Weight ภาวะโภชนาการและน้ำหนักของมารดาขณะตั้งครรภ์ การติดเชื้อขณะตั้งครรภ์ การป้องกันทารกคลอดก่อนกำหนด การจัดบริการที่น่าไว้วางใจ การดูแลครรภ์/ฝากครรภ์ที่มีคุณภาพ

MCH BOARD Chiang Saen-Doiloung การพัฒนารูปแบบการดำเนินการแก้ไขปัญหา ภาวะทารกน้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่า 2500 กรัม เครือข่ายเชียงแสน-ดอยหลวง MCH BOARD Chiang Saen-Doiloung

ความเป็นมาและความสำคัญ LBW การศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงใน แต่ละพื้นที่ อัตราการเกิดภาวะทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ลดลง กำหนดแนวทางลดและแก้ไขปัญหา พัฒนารูปแบบการแก้ไขปัญหา ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย

วัตถุประสงค์การศึกษา ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยในมารดาที่มาคลอดที่โรงพยาบาลเชียงแสน เพื่อศึกษาผลการพัฒนารูปแบบเพื่อแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม ในเครือข่ายเชียงแสน- ดอยหลวง

วิธีการดำเนินการศึกษา รูปแบบการวิจัย เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) รูปแบบการวิจัย ระยะที่ 1 : cohort study ศึกษาจากสาเหตุไปหาผล ระยะที่ 2 : การวิจัยเชิงปฏิบัติการ two group quasi-experiment study เพื่อศึกษาปัจจัยสาเหตุของการเกิดปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม ตลอดจนพัฒนารูปแบบการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมในเครือข่าย กรอบแนวคิด 3C-PDSA กระบวนการพัฒนาคุณภาพ สรพ.

วิธีการดำเนินการศึกษา ระยะที่ 1 การศึกษาปัจจัยเสี่ยง LBW เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามมารดาที่คลอดบุตร ทุกรายที่มาคลอดในโรงพยาบาลเชียงแสนระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2554 กลุ่มศึกษาน้ำหนักตัวแรกคลอดน้อยกว่า 2,500 กรัม และกลุ่มควบคุมคือกลุ่มมารดาที่คลอดบุตรน้ำหนักปกติ ระยะที่ 2 พัฒนารูปแบบการดำเนินงานเพื่อการแก้ไขปัญหา LBW วิเคราะห์ผลการศึกษาปัจจัยเสี่ยง นำข้อมูลจัดเวที KM คืนข้อมูลพื้นที่ ร่วมกันพัฒนารูปแบบกิจกรรมการฝากครรภ์เพื่อเฝ้าระวังป้องกันภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์และป้องกันการคลอดก่อนกำหนด และเก็บรวบรวมผลลัพธ์ประเมินผล

การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด LBW สถิติที่ใช้คือ multiple logistic regression analysis แสดงค่าความเสี่ยงสัมพัทธ์ Odd Ratio (OR) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % CI ( 95 % Confidence Interval) เปรียบเทียบก่อนและหลังการพัฒนารูปแบบการแก้ไขปัญหาด้วยการใช้สถิติ Chi-square

การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะทารกน้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่า 2,500 กรัม เครือข่ายเชียงแสน-ดอยหลวง

*statistical significant at p < 0.01 ตาราง ปัจจัยเสี่ยงของมารดาที่มีผลต่อการเกิดทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม เมื่อวิเคราะห์ด้วยวิธี multiple logistic regression analysis ปัจจัย OR 95% CI การคลอดก่อนกำหนด (อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์) 22.6 6.5 - 66.9 น้ำหนักเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์น้อยกว่า 10 กิโลกรัม 20.6 6.4 – 64.8 มีภาวะเครียดขณะตั้งครรภ์ 16.5 5.7 – 45.3 การหยุดทำงานเพื่อพักผ่อนก่อนคลอด 15.4 4.8 – 35.1 การไม่ฝากครรภ์ ฝากครรภ์น้อยกว่า 4 ครั้งคุณภาพ 7.8 4.3 – 23.7 จำนวนชั่วโมงการทำงาน >40 ชม./สัปดาห์ 2.3 1.7 – 4.5 มีภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์ 2.2 1.1- 4.3 *statistical significant at p < 0.01

พัฒนารูปแบบเฝ้าระวังแก้ไขปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดทารกน้ำหนักน้อยในเครือข่าย

แนวทางการพัฒนาเพื่อส่งเสริมหญิงมีครรภ์เพื่อแก้ไขปัญหา LBW การปรับเปลี่ยนเกณฑ์การคัดกรองหญิงมีครรภ์ที่ภาวะเสี่ยง (High Risk pregnancy screening) ใช้แนวคิด ANC แบบพอเพียง (WHO) 5 ครั้ง ในกลุ่มที่ไม่มีปัจจัยเสี่ยง เน้นการคัดกรองความเสี่ยงและค้นหามารดาที่มีปัจจัยเสี่ยงเพื่อให้การดูแลอย่างใกล้ชิด screening preterm labor, GDM, Anemia, PIH เพิ่มการตรวจคัดกรองภาวะเครียดในหญิงมีครรภ์

วิธีการดำเนินการจัดบริการให้น่าไว้วางใจ จัดทำเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้นำข้อมูลการศึกษาปัจจัยเสี่ยง รวมวางแผนพัฒนา ANC แนวใหม่แบบพอเพียง จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด การปรับเปลี่ยนรูปแบบการพัฒนาเพื่อแก้ไข LBW

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชนในพื้นที่อำเภอเชียงแสนจังหวัดเชียงราย ภายในปี พ.ศ. 2554-2556 (SRM) วันรุ่นและเยาวชนมีความสามารถป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ วัยรุ่นและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจอนามัยเจริญพันธ์ที่ปลอดภัย สร้างค่านิยมพฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัยและเหมาะสมกับวัย ส่งเสริมความรู้ทักษะอนามัยเจริญพันธ์ ครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจอนามัยเจริญพันธ์ในวัยรุ่นและเยาวชน เสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว สร้างแบบอย่างที่ดีในครองครัวเกี่ยวกับอนามัยเจริญพันธ์ ชุมชน/ท้องถิ่นเข้มแข็งพัฒนางานอนามัยเจริญพันธ์ สร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และภาคีเครือข่าย รณรงค์วัฒนธรรมประเพณีไทย รักนวลสงวนตัว มีแบบอย่างที่ดีในชุมชน พ่อแม่ เอาใจใส่บุตรหลาน ประชาชน สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพ สร้างหลักสูตรเพสศึกษาในวัยรุ่น/เยาวชน พัฒนาการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ สอดแทรกความรู้เรื่องเพศศึกษา หน่วยงานภาครัฐ,สธ,เอกชนสนับสนุนและร่วมดำเนินการ พัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตรกับเยาวชน สร้างระบบการประสานงาน สนับสนุนการทำงานร่วมกันกับภาคีเครือข่าย องค์กรชุมชน ขับเคลื่อนการดำเนินงาน สร้างศูนย์เรียนรู้ในชุมชน สร้างมาตรการทางสังคม(ธรรมนูญชุมชน) ภาคี ประชาสัมพันธ์/รณรงค์อย่างต่อเนื่อง เคาะประตูสื่อสารโดย อสม./ผู้นำชุมชน เสียงตามสาย, ดีเจน้อย รถ mobile ประชาสัมพันธ์ ปั่นจักรยานรณรงค์ มีการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ กำกับติดตามประเมินผลตามเกณฑ์ อสม., จนท.รพ/รพสต. ติดตามการรายงานข้อมูล แลกเปลี่ยนเรียนรู้นวัตกรรม จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้/คืนข้อมูลให้ชุมชนเกี่ยวกับ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น สร้างครอบครัวตัวอย่าง พัฒนางานวิจัยด้านอนามัยเจริญพันธุ์ กระบวนการ บุคลากรมีความรู้และทักษะอนามัยเจริญพันธุ์ อบรม/ศึกษาดูงาน จนท.,อสม.,ผดด, ผู้ปกครอง,ครู/ผู้ดูแลเด็ก ทีมงานเข้มแข็ง สนับสนุนผู้นำเข้มแข็ง,บรรยากาศส่งเสริมในการทำงาน อบต.,เทศบาล,ครู,พระ,อสม.,กรรมการ MCH ปรับเปลี่ยนทัศนคติ ความเชื่อ และสร้างแรงจูงใจ ผู้สูงวัยใส่ใจแม่และเด็ก ใช้ประโยชน์จากศูนย์สามวัย เคาะประตูสื่อสาร โรงเรียนพ่อแม่สัญจร ระบบข้อมูลที่เชื่อมโยง คืนข้อมูลอนามัยแม่และเด็กให้กับชุมชน(จากการรวบรวม) พัฒนาข้อมูลอนามัยเจริญพันธุ์ ใช้ระบบ IT ส่งต่อข้อมูลระหว่างรพ.กับชุมชน พื้นฐาน

ให้ความรู้ รณรงค์ป้องกันการตั้งครรภ์และเพศสัมพันธุ์ปลอดภัยในวัยรุ่น ผ่านคลื่นวิทยุชุมชน เผยแพร่ความรู้ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ พร้อมแนะนำคลินิกเพื่อนใจวัยทีน

ให้ความรู้และการปฏิบัติตัวเพื่อการป้องกันการคลอด การป้องกันการคลอดก่อนกำหนด ให้ความรู้และการปฏิบัติตัวเพื่อการป้องกันการคลอด ก่อนกำหนด

พัฒนารูปแบบการให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี ในรูปแบบโรงเรียนพ่อแม่ งานฝากครรภ์คุณภาพ พัฒนารูปแบบการให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี ในรูปแบบโรงเรียนพ่อแม่ พัฒนารูปแบบการให้บริการฝากครรภ์สตรีกลุ่มเสี่ยงเฉพาะ (ANC high risk clinic)

โครงการพัฒนางานสายใยรักแห่งครอบครัวสู่ชุมชน

พัฒนาการฝากครรภ์ รูปแบบใหม่เพิ่มเติม การประชาสัมพันธ์การฝากครรภ์ ครั้งแรกโดยเร็ว คัดกรองความเสี่ยงและค้นหามารดาที่มีปัจจัยเสี่ยงเพื่อให้การดูแลอย่างใกล้ชิด การให้ความรู้ด้านโภชนาการและติดตามภาวะโภชนาการแก่มารดาตั้งครรภ์ Vallop curve ส่งเสริมภาวะโภชนาการตามวิถีชุมชนหรืออาหารพื้นบ้าน มีระบบส่งต่อภายในเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ ร่วมกับการฝากครรภ์ที่เป็นแนวทางเดียวกันทั้งเครือข่าย

โครงการ นิเทศการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก โครงการ นิเทศการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหาอุปสรรค การนิเทศงาน เพื่อเตรียมการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการพัฒนาแนวใหม่

การพัฒนารูปแบบการแก้ไขปัญหา LBW ผลการวิจัยหลัง การพัฒนารูปแบบการแก้ไขปัญหา LBW back

เปรียบเทียบสัดส่วนการเกิดทารกแรกคลอดน้อยกว่า 2,500 กรัม กลุ่มมารดาได้รับการดูแลการฝากครรภ์ที่พัฒนารูปแบบเฝ้าระวังแก้ไขปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดทารกน้ำหนักน้อยและกลุ่มมารดาได้รับการฝากครรภ์ตามปกติ ผลลัพธ์ กลุ่มมารดาได้รับการฝากครรภ์ตามปกติ (n = 210) กลุ่มมารดาที่ได้รับการฝากครรภ์รูปแบบใหม่ (n = 226) p-value จำนวน ร้อยละ การเกิดทารกแรกคลอดน้อยกว่า 2,500 กรัม 26 12.38 10 4.42 .002* *รูปแบบเดิม ช่วง ต.ค 53-มี.ค 54 รวม 6 เดือน *รูปแบบใหม่ ช่วง ต.ค 54-มี.ค 55 รวม 6 เดือน

บทเรียนที่ได้รับ การจัดบริการที่น่าไว้วางใจสำหรับหญิงตั้งครรภ์ เพื่อป้องกันหรือลดภาวะทารกน้ำหนักตัวน้อย ควรใช้ข้อมูลพื้นฐานปัจจัยเสี่ยงที่สามารถป้องกันแก้ไขในระยะตั้งครรภ์ตามบริบทพื้นที่ นำมาวางแผนและและการดำเนินการปรับปรุงวิธีการปฏิบัติต่างๆ ปรับวิธีการทำงาน รวมถึงมีนโยบายที่ชัดเจนเพื่อป้องกันปัญหา ให้ความใส่ใจในคุณภาพ การฝากครรภ์ ทั้งนี้เพื่อสามารถแก้ไขปัญหาให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ต่อไป ส่งผลให้อัตราการเกิด LBW ลดลง

ขอบคุณ และ สวัสดี