ผลการสัมมนากลุ่มย่อย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวปฏิบัติที่ดี เรื่อง “ทบทวนการสรรหาบุคลากร ให้มีประสิทธิภาพ”
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม คุณสมบัติผู้เข้ารับการอบรม เอกสารประกอบการสมัคร
การพัฒนาการอ่านรู้เรื่อง และสื่อสารได้(Literacy)
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
มาตรฐานวิชาชีพครู.
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
พลตรี นพดล พิศวง รองผอ.รมน.สระบุรี
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ภาพรวมผลการตรวจสอบพบจุดอ่อนที่ต้องควบคุม ของโรงพยาบาล
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
แผนยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๘
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
สรุปบทเรียนความสำเร็จการดำเนินงานโครงการโรคเอดส์ ด้านการป้องกัน
กลุ่มที่ 1.
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
งานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
ทองดี มุ่งดี สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กรกฎาคม ๒๕๕๖
เรื่องของการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ต้อง ให้ฉับไว ถูกต้อง ด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึง พอใจต้องสำรวจให้ครบทุกหน่วยงาน ต้องพัฒนาทักษะ ความรู้ความเข้าใจ จัดระบบงานใหม่ให้สอดคล้องกับความ.
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
“เป็นหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพสูงในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาล”
การยกระดับคุณภาพ กศน. ๑. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชน ทุกกลุ่มเป้าหมายด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพ ๒. ยกระดับคุณภาพงานการศึกษานอกระบบแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลุ่มข้าวเหนียว.
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
กลุ่มที่ 4.
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่าย
กลยุทธ์การขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี ๒๕๕๖
Evaluation of Thailand Master Plan
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
๖. การเยี่ยมเยียน การ เรียนรู้ นิเทศ ติดตาม ๗. มีระบบสนับสนุน ๘. ระบบการส่งต่อ ๙. ระบบสารสนเทศ เก็บ รวบรวมข้อมูล ปรับปรุงข้อมูล ๑๐. นำไปสู่การปฏิบัติ
โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ เรียนรู้ร่วมกันเพื่อพัฒนาสหกรณ์ ในส่วนของสหกรณ์การเกษตร คณะกรรมการ ๑. คุณสายพิณเอี่ยมป๊อก ประธาน ๒. คุณนิภาเลี่ยมสกุลรองประธาน.
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
หน่วยที่ ๖ การเขียนประชาสัมพันธ์
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
การเขียนโครงการ.
ข้อที่ 7 ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชี สุดท้ายสหกรณ์ ต้องไม่กระทำการอัน เป็นการฝ่าฝืนกฏหมาย ระเบียบ คำสั่ง ปัญหา / สาเหตุ การ ป้องกั น แนว ทางแก้ ไข มาตรฐาน.
วิพากษ์วิจารณ์ข้อดีของทฤษฎี
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการสัมมนากลุ่มย่อย กลุ่มที่ 2 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ของโครงการทำดีมีอาชีพ

แถลงผลการสัมมนาโครงการ “ทำดี มีอาชีพ” กลุ่มย่อยที่ 2 แถลงผลการสัมมนาโครงการ “ทำดี มีอาชีพ” กลุ่มย่อยที่ 2 หัวข้อสัมมนา ปัจจัยแห่งความสำเร็จของโครงการ “ ทำดี มีอาชีพ ” ประธาน : พ.อ.เชาวลิต โฆษิตสรรค์ เลขา : น.ส.ประภาพร ชุลีลัง สมาชิกกลุ่ม จำนวน 14 คน

รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 2 1. พ.อ.เชาวลิต โฆษิตสรรค์ ( ประธานกลุ่ม 2 ) 2. นาย ไพศาล ชลสินธุ์ ( รองประธานกลุ่ม 2 ) 3. น.ส.ประภาพร ชุลีลัง ( เลขา ) 4. พ.อ.เสน่ห์ ลี้นิยม 5. นาย วิเชียร ประเสริฐกุล 6. น.ส.อารีย์ ชูผึ้ง 7. นาย สิทธิชัย สุขสุดสวาท

รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 2 8. พ.อ.อภิศักดิ์ เกษวัง 9. นาย นิกร นิ่มสาย 10. นาย ศักดิดา อุทิศนันท์ 11. นาย ประยูร โพธ์งาม 12. พ.อ.ฐานวิญญ์ เหลืองภานุวัฒน์ 13. นาย สมพร แจ้งแสง 14. นาย วินัย สุวรรณคง

ปัจจัยแห่งความสำเร็จของโครงการทำดีมีอาชีพ ๑. คน (Man) ๒. งบประมาณ (Money) ๓. เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ (Material) ๔. การบริหารจัดการ (Management)

บุคลากร (กอ.รมน.ภาค ๔ ส่วนหน้า) จุดอ่อน จุดแข็ง ๑. การประชาสัมพันธ์โครงการไม่ได้ไห้ข้อเท็จจริง ๒. ไม่มีรายละเอียดความต้องการ ๑. สามารถนำนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบัติได้ดีระดับหนึ่ง ๒. อยู่ในพื้นที่เข้าใจปัญหา

บุคลากร (กอ.รมน.) จุดอ่อน จุดแข็ง ขาดผู้ประสานงานองค์กรที่เกี่ยวข้องที่มีประสิทธิภาพ บุคลากรขององค์กรที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความ เข้าใจ

บุคลากร (กอ.รมน.จว.) จุดอ่อน จุดแข็ง ๑. ขาดกำหนดการที่ชัดเจนในการส่งผู้เข้า ๒. ครูพี่เลี้ยงขาดทักษะในการดูแลผู้เข้ารับการอบรม ควรแก้ไขด้วยการจัดอบรมในเรื่องจิตวิทยาพื้นฐาน หรือการใช้ภาษายาวีเบื้องต้นให้กับครูพี่เลี้ยงก่อนสัก1-2 อาทิตย์ ก่อนส่งไปปฏิบัติหน้าที่. บุคลากรขององค์กรที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจ

บุคลากร (ผอ.สถานศึกษา) จุดอ่อน จุดแข็ง ผอ.บางสถานศึกษาไม่เข้าใจในบริบทของโครงการ ทำให้การทำงานไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ผอ.บางสถานศึกษามีความเข้าใจโครงการเป็นอย่างดีและมี ความเสียสละสูงทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพ เช่น จังหวัดสิงห์บุรี สุพรรณบุรี ฯลฯ

บุคลากร (ผู้ปฏิบัติงาน) จุดอ่อน จุดแข็ง ผู้ปฏิบัติงานขาดความเข้าใจในแนวปฏิบัติของโครงการ ผู้ปฏิบัติงานในสถานศึกษามีความพร้อมในทุกสาขาอาชีพที่ผู้เข้ารับการอบรมต้องการ

งบประมาณ จุดอ่อน จุดแข็ง ๑. งบประมาณสำหรับเป็นค่าวัสดุอุปกรณ์ในการฝึกไม่เพียงพอ ๒. งบประมาณค่าตอบแทนวิทยากรบางสาขาไม่เพียงพอ ๓. งบประมาณที่สถานศึกษาได้รับล่าช้า ๑. การโอนงบประมาณจาก กอ.รมน.ไปให้ สอศ. เป็นไปอย่างรวดเร็ว

เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ จุดอ่อน จุดแข็ง ๑. อุปกรณ์ไม่เพียงพอ ๒. อุปกรณ์ไม่ทันสมัย บางสถานศึกษาอยู่ใกล้สถานประกอบการ สามารถส่งผู้อบรมเข้าไปฝึกงานได้

การบริหารจัดการ จุดแข็ง จุดอ่อน ๑. ขาดการจัดทำแผนงานที่ชัดเจน ๒. ขาดการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๓. ขาดเงินสำรองจ่ายสำหรับโครงการ ๔. ระยะเวลาของโครงการ (๔ เดือน ยาวเกินไป) ควรไม่เกิน ๔๕ วัน ๕. บางสถานศึกษาไม่ได้จัดให้มีการศึกษาดูงาน /ทัศนศึกษา ๑. วัตถุประสงค์ของโครงการเป็นประโยชน์ในด้านการสร้างความมั่นคงของประเทศ ๒. การนำเยาวชนออกนอกพื้นที่เป็นเรื่องที่ดีเป็นการเปิดโลกทัศน์ ๓. เป็นการบูรณาการระหว่างหลายหน่วยงานเพื่อร่วมกันแก้ปัญหาของชาติ

ข้อเสนอแนะต่อปัจจัยแห่งความสำเร็จ มีการวางแผนการดำเนินงานอย่างชัดเจน ๒. มีการสร้างความเข้าใจกับหน่วยงานและองค์ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทั้งภาครัฐและเอกชน ๓. ปรับปรุงระบบการใช้งบประมาณให้มีประสิทธิภาพ ๔. มีงบประมาณสนับสนุนผู้สำเร็จการฝึกอบรมจากโครงการที่มีความตั้งใจศึกษาต่อในสถาบันการศึกษาเพิ่มเติม ๕. จัดให้มีเงินทุนสนับสนุนในการประกอบอาชีพแก่เยาวชนที่ผ่านการอบรมจากโครงการ เช่น การจัดหาเครื่องมือประกอบอาชีพ สถานที่ในการประกอบการ ฯลฯ ๖. คัดกรองสถานศึกษาที่มีความพร้อมเป็นผู้ดำเนินงาน ๗. คัดแยกเยาวชนที่มาจากจังหวัดเดียวกันให้เข้ารับการอบรมในสถานศึกษาเดียวกัน เพื่อป้องกันการทะเลาะวิวาท

๘. ภาครัฐควรมีการส่งเสริมและหาตลาดเพื่อจำหน่ายผลผลิต ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มประเทศมุสลิม ๙. ประชาสัมพันธ์โครงการในพื้นที่ให้เกิดความเข้าใจอย่างชัดเจนและต่อเนื่อง โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ปกครองและเยาวชน ๑๐. รัฐบาลควรสานต่อนโยบายให้มีความต่อเนื่อง เพราะเป็นโครงการที่สามารถลดปัญหาด้านความมั่นคงได้อย่างดียิ่ง ๑๑. มีระบบติดตามประเมินผลโครงการอย่างต่อเนื่อง และนำข้อมูลจากการประเมินมาปรับปรุงการดำเนินโครงการอย่างจริงจัง

สิ้นสุดการนำเสนอ