ที่มาของอาเซียน Association of Southeast Asian Nations (ASEAN)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพยาบาลผู้ป่วยและผู้ใช้บริการจากกลุ่มประเทศอาเซียน
Advertisements

ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
สหภาพยุโรปในฐานะมหาอำนาจระดับกลางและบทบาทต่อการเมืองโลก
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง
วันจันทร์ที่ 30 กรกฎาคม 2555 เวลา น
ประชาคมอาเซียน กับการพัฒนาการศึกษา
การค้ามนุษย์.
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
ความร่วมมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
การก่อตั้งประชาคมอาเซียน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ปราณีต ศรีศักดา อดีต ผอ.สคบศ กศ.บ.วิทยาลัยวิชาการศึกษา พิษณุโลก
การขับเคลื่อนภาคการเกษตร สู่ประชาคมอาเซียน
ประวัติความเป็นมาของอาเซียน
อาเซียน: กศน. กับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ใน ปี 2558
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก
การบริหารราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๗
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
รู้เรื่องอาเซี่ยนมากน้อยเพียงใด
กรอบการเจรจาความตกลงด้านมาตรฐาน และการตรวจสอบและรับรอง ภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards.
ประชาคมอาเซียน.
ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคง การอยู่ร่วมกันโดยสันติ การแก้ไขปัญหาขัดแย้งโดยสันติวิธี การสร้างกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน ความรับผิดชอบร่วมกันในการสร้างความ.
การเตรียมความพร้อมของสาขาบริการสุขภาพ
ข้อพิจารณาว่าน่าจะทำเป็น ข้อเสนองานเอดส์ 1) ข้อมูลสามารถแปลงเป็นประเด็นเชิงกลยุทธ (Strategic Information) ความสำคัญของปัญหา และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่เกี่ยวกับเอดส์
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
AEC กับระบบหลักประกันสุขภาพไทย
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สัญลักษณ์ของอาเซียนคืออะไร
ASEAN and Thai Education
การเตรียมการของคณะครุศาสตร์ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
จุดเริ่มต้นของอาเซียน
พลังชุมชน สู่สุขภาพดีในยุคประชาคมอาเซียน : บทบาทสถานศึกษา
แผนความร่วมมือระหว่างประเทศ
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
บทบาทข้าราชการฝ่ายปกครอง กับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2555 – 2559) รศ. โรม จิรานุกรม รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สรุปการประชุมระดมความคิด
นโยบายรัฐบาล (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร)
มอบนโยบายการ บริหารงาน กระทรวงคมนาคม 5 พฤศจิกายน 2555.
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. เปมิกา เปสลาพันธ์ ม.1/16 เลขที่ 36
ความสัมพันธ์ ปัญหาระหว่างไทยกับกัมพูชา: ผลกระทบต่อความร่วมมือระหว่างประเทศ ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา.
ความสัมพันธ์ไทยกับ อาเซียน 22 ธันวาคม อาเซียน.
แนวทางการเชื่อมโยง “อาเซียน” สู่ระบบการศึกษาของ ประเทศไทย และ นโยบายการขับเคลื่อน การศึกษาสู่ประชาคม “อาเซียน” จันทรา ตันติพงศานุรักษ์ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.
ด. ช. ไชยวัฒน์ พวงมณี เลขที่ 6 ชั้น ม.2/11.  ชื่อ สกุล ไชยวัฒน์ พวงมณี  วัน เดือนปี เกิด 11 เมษายน พ. ศ.2543  ที่อยู่ 67 ม.7 ตำบล บางเหรียง อำเภอ ควนเนียง.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Asean Economics Community : AEC
A E C โครงการเตรียมความพร้อมเส้นทางสนับสนุนโลจิสติกส์และการท่องเที่ยว
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC )
แนวทางการเชื่อมโยง “อาเซียน” สู่ระบบการศึกษาของ ประเทศไทย และ นโยบายการขับเคลื่อน การศึกษาสู่ประชาคม “อาเซียน” จัดเผยแพร่ โดย กองร้อยตำรวจตระเวรชายแดนที่
แม้อาเซียนจะมิได้มีสนธิสัญญาหรือกฎบัตรมา ตั้งแต่ต้น แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาเซียนก็ได้ พัฒนาความร่วมมือโดยอาศัยฐานในทาง กฎหมายระหว่างประเทศมากขึ้น เช่น.
การศึกษาในสังคมอาเซียน
Welcome.
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ทิศทางและกลยุทธ์ของการอุดมศึกษาไทย เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์
ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา... ไม่มีอะไรจะอธิบายย จบปิ๊ง.
ประวัติความเป็นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความคืบหน้าในประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community-APSC)

ที่มาของอาเซียน Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510) อาเซียนอยู่กับคนไทยมานาน และเป็นส่วนสำคัญของนโยบายต่างประเทศไทยเสมอมา 1) นอกจากไทยจะเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งอาเซียนแล้ว ที่ผ่านมา ไทยยังเป็นตัวขับเคลื่อนพัฒนาการของอาเซียนที่สำคัญฯ ตัวอย่างเช่น การจัดทำเขตการค้าเสรีอาเซียนในปี 2535 การจัดตั้งคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน และ การริเริ่มแนวคิดเกี่ยวกับความเชื่อมโยงและการจัดทำแผนแม่บทเรื่องความเชื่อมโยงในอาเซียน เนื่องจากไทยเล็งเห็นประโยชน์ที่จะใช้กรอบความร่วมมือในระดับภูมิภาคของอาเซียนในการผลักดันนโยบายต่างๆ ที่สำคัญต่อไทย 2) ปัจจุบัน อาเซียนได้ขยายความร่วมมือไปหลากหลายสาขา และมีความเกี่ยวข้องกับประชาชนในทุกภาคส่วน โดยเฉพาะในเรื่องเศรษฐกิจ ดังนั้น อาเซียนจึงเป็นวาระแห่งชาติที่ทุกหน่วยงานและทุกภาคส่วนจำเป็นต้องประสานความร่วมมือและบูรณาการการดำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้เกิดประโยชน์กับประเทศมากที่สุด 3) หลายท่านอาจเคยคิดสงสัยว่า เรื่องต่างๆ ที่ไทยทำในกรอบอาเซียน เป็นประโยชน์กับไทยมากเพียงใด หรือประเทศสมาชิกอื่นจะได้ประโยชน์มากกว่าหรือไม่ จึงขอเรียนว่า สิ่งที่อาเซียนดำเนินการทั้งหมดเป็นสิ่งที่ทุกประเทศสมาชิกเห็นชอบร่วมกัน เนื่องจากเห็นประโยชน์ร่วมกัน โดยคำนึงถึงว่า ประโยชน์ที่เกิดกับภูมิภาคย่อมส่งผลดีและส่งเสริมผลประโยชน์ของไทยในระยะยาวเช่นกัน 4) ความสำเร็จของอาเซียน ไม่ว่าจะเรื่องการเมือง (เช่น ปัญหากัมพูชา) หรือการรวมตัวทางเศรษฐกิจ ทำให้ปัจจุบันอาเซียนได้รับการยอมรับจากนานาประเทศและสามารถมีบทบาทมากขึ้นในเวทีโลก โดยการที่ไทยมีบทบาทเด่นในอาเซียนก็ทำให้ไทยสามารถใช้กรอบอาเซียนในการผลักดันผลประโยชน์ของไทยในเวทีโลกด้วย ปัจจุบันได้ขยายความร่วมมือไปหลายสาขา และมีความเกี่ยวข้องกับประชาชนทุกภาคส่วน

นโยบายรัฐบาลนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ในเรื่องอาเซียน นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ สร้างความสามัคคีและส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศอาเซียน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการจัดตั้งประชาคมอาเซียนและส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศอื่น ๆ ในเอเชียภายใต้กรอบความร่วมมือด้านต่าง ๆ และเตรียมความพร้อมของทุกภาคส่วนในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และความมั่นคง (ข้อ 7.2) นโยบายเร่งด่วน เร่งฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและเร่งดำเนินการตามข้อผูกพันในการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน ในปี 2558 ทั้งในมิติเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคง ตลอดจนการเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมขนส่งภายในและภายนอกภูมิภาค (ข้อ 1.6) อาเซียนเป็นวาระแห่งชาติของไทย เรื่องของอาเซียนจึงถูกบรรจุอยู่ในทั้งนโยบายเร่งด่วน และนโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศของรัฐบาลชุดปัจจุบัน นโยบายด้านอาเซียน แบ่งออกได้เป็น 2 มิติ คือ มิติภายในประเทศ และมิติภายนอกประเทศ มิติภายในประเทศ เป็นเรื่องการดำเนินการภายในเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการเป็นประชาคมอาเซียน รวมถึงการสร้างความตระหนักรู้ ให้ความรู้แก่ประชาชน และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนด้วย มิติภายนอกประเทศ เป็นเรื่องการส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศสมาชิกในด้านต่างๆ รวมทั้งการส่งเสริมความไว้เนื้อเชื่อใจกันในภูมิภาค เพื่อให้อาเซียนเป็นพื้นที่ที่มีสันติภาพ เสถียรภาพ เหมาะแก่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมต่อไป การดำเนินนโยบายของไทยในเรื่องอาเซียนทั้ง 2 มิติ จะต้องทำควบคู่กันไป รวมทั้งต้องมีการประสานการทำงานให้เป็นภาพเดียวกันและสอดคล้องกัน 3

ขนาดและความสำคัญของเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมอาเซียน เปรียบเทียบกับ ประชากร 604 ล้านคน (อันดับ 3 ของโลก) › สหภาพยุโรป (≈ 500 ล้านคน/ 28 ประเทศ) GDP ขนาด 2.18 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (อันดับ 9 ของโลก) = 5.7 เท่าของไทย (≈ 345,000 ล้าน USD) การค้าระหว่างประเทศ 2.3 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (อันดับ 5 ของโลก) 5 เท่าของไทย (≈ 460,000 ล้าน USD) ต่างชาติมาลงทุนในอาเซียน 114 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ 60% ของการลงทุนของต่างชาติในจีน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (GDP growth) 4.7% ตารางนี้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพและขนาดทางเศรษฐกิจของอาเซียนเมื่อรวมตัวกัน 10 ประเทศ ซึ่งจะเห็นได้ว่าอาเซียนถือเป็นพื้นที่เศรษฐกิจที่สำคัญของโลกแห่งหนึ่ง ประชากรของอาเซียนมีจำนวนกว่า 600 ล้านคน และจัดเป็นอันดับ 3 ของโลก ซึ่งมากกว่าสหภาพยุโรป GDP รวมกัน นับเป็นอันดับ 9 ของโลก หรือเกือบ 6 เท่าของไทย การค้าระหว่างประเทศรวมกันเป็นอันดับ 5 ของโลก การลงทุนโดยตรงจากต่างชาติ (FDI) รวมกันเกินครึ่งของจีน และติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลก หากพิจารณาแต่ละประเด็นจะเห็นว่าประเทศสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศมีจุดเด่นที่ส่งเสริมกันและกันอยู่ เช่น อินโดนีเซียมีประชากรมาก ในขณะที่สิงคโปร์และบรูไนฯ มี GDP สูง แต่ประชากรน้อย เป็นต้น

ประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน เรื่องสำคัญที่คาบเกี่ยวกับ 3 เสาของประชาคมอาเซียน(Cross Cutting Issues) ความสัมพันธ์กับ นอกภูมิภาค ประชาคมอาเซียน ประชาชนอาเซียน (มากกว่า 600 ล้านคน) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ปฏิสัมพันธ์และความร่วมมือกับหุ้นส่วนต่างๆ

การประชุมคณะรัฐมนตรีของประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศ อาเซียน (AMM) การประชุมคณะกรรมาธิการสนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การประชุม ASEAN Regional Forum(ARF) การประชุมคณะรัฐมนตรีของประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน การประชุมสุดยอดอาเซียน การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน (ADMM) ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนว่าด้วยเรื่องอาชญากรรมข้ามชาติ(AMMTC) ประชาชนอาเซียน การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา(ADMM Plus) การประชุม AMMTC กับประเทศคู่เจรจา การประชุมรัฐมนตรีว่าด้วยเรื่องกฎหมายของอาเซียน (ALMM)

ประชาคม การเมือง ความมั่นคง เป้าหมาย ประเด็นสำคัญ เป้าหมาย -Rules-Based Community of Shared Norms and Values ประเด็นสำคัญ -ประชาธิปไตย -สิทธิมนุษยชน -นิติธรรม -ผลประโยชน์รวมกันของประชาคม -อัตลักษณ์อาเซียน เป้าหมาย -Cohesive, Peaceful, Stable and Resilient Region with Shared Responsibility for Comprehensive Security ประเด็นสำคัญ -สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกัน -ไม่ใช้กำลังแก้ไขปัญหาและส่งเสริมสันติภาพ -การแก้ไขปัญหาต่างๆโดยสันติวิธี -การแก้ไขปัญหาความท้าทายในรูปแบบใหม

ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ปฏิสัมพันธ์กับนอกภูมิภาค เป้าหมาย -Dynamic and Outward-Looking Region in an Increasingly Integrated and Interdependent World ประเด็นสำคัญ -การสร้างความเป็นศูนย์กลางของอาเซียนในโครงสร้างสถาปัตยกรรมในภูมิภาค (ARF, ADMM Plus, AMMTC and Dialogue Partners) -การร่วมมือกับประเทศและองค์กรนอกภูมิภาคเพื่อส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค -การหารือในประเด็นระหว่างประเทศที่มีนัยยะต่อสันติภาพและความมั่นคง

กลไกอื่นๆที่สนับสนุนการส่งเสริมความมั่นคงในภูมิภาค AICHR ACWC AMF (ASEAN Maritime Forum) ASEANAPOL Network of ASEAN Peacekeeping Centres AHA Centre NADI AIPR ARCMA ASEANTOM เป้าหมาย: สนับสนุนอาเซียนให้ส่งเสริมความมั่นคงในภูมิภาค

AMMTC + Dialogue Partners ASEAN Regional Forum (ARF) East Asia Summit (EAS) การร่วมมือกับประเทศคู่เจรจาต่างๆ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน Expanded ASEAN Maritime Forum AMMTC + Dialogue Partners ASEAN Defense Ministers Meeting (ADMM) Plus UN และองค์การระหว่างประเทศและภูมิภาคอื่นๆ