2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการจัดทำรายงานประเมินผลการควบคุมภายใน
Advertisements

การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
กระบวนการจัดส่งรายงานการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกระทรวง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ปฏิทินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยฯ
ระดับความสำเร็จของ การควบคุมภายใน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
สรุปการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
เจ้าภาพหลัก สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ระดับหน่วยงาน แบบ ปย.1 แบบ ปอ.1 แบบ ปส. แบบ ปย.2 แบบ ปอ.2 แบบ ปอ.3
สรุปผลการประเมินผลการควบคุมภายใน
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
ศูนย์บริหารโครงการเงินกู้ เพื่อวางระบบบริหาร จัดการน้ำและสร้างอนาคต ประเทศ ตามคำสั่งกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่ 879/2555 ตามคำสั่งกรมอุทยานแห่งชาติ
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
กองแผนงานละวิชาการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
การประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด ประจำปี 2556
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบ การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
ร้อยละความสำเร็จของการนำองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์การไปสู่การปฏิบัติ
การปรับปรุงกรอบการประเมิน กองบัญชี สำนักการคลัง
กองบัญชี สำนักการคลัง รับผิดชอบ ตัวชี้วัด ในมิติที่ 2
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
4.6 การคำนวณต้นทุนของส่วนราชการ วัตถุประสงค์ ส่วนราชการสามารถคำนวณต้นทุนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เป็นมาตรฐานเดียวกัน เปรียบเทียบต้นทุนกันได้ในระหว่างหน่วยงาน.
กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
กระบวนงาน การฝึกอบรม ประชุม สัมมนา.
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 โครงการเป็นเครื่องมือในการบริหารงานและ พัฒนาองค์กร และเป็นการแปลงแผนแม่บทไปสู่ การปฏิบัติ
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
กลุ่มวิจัยและพัฒนาสหกรณ์
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
1. ประกาศรับสมัครคัดเลือกภายในวันจันทร์ที่ 19 ม. ค รับสมัครคัดเลือกวันจันทร์ที่ 26 ม. ค.- วันอาทิตย์ที่ 1 ก. พ.2558 ( ไม่เว้นวันหยุดราชการ.
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพ
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และ วิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อ.
การประชุมคณะทำงานจัดทำแผนแม่บท ฯ ครั้งที่ 1/2549  กำหนดแนวทางการดำเนินการ ขั้นตอนต่อไป  กำหนดผู้ที่จะร่วมในการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมด้าน ICT 17 มีนาคม.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก ระดับความสำเร็จของ การควบคุม ภายใน 4 ขั้นตอนที่ ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการ ควบคุมภายใน

3 ผลการดำเนินงาน ระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม 2554 – 28 สิงหาคม จัดทำร่าง ผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุม ภายใน 5 องค์ประกอบ มาจัดทำแบบ ปย จัดทำหนังสือเวียนแจ้งให้ ส่วน / กลุ่ม รายงาน ปย.2 ส่งให้ฝ่ายแผนงานและติดตาม ประเมินผล ส่วนอำนวยการ ตามหนังสือ ทส /07922 ลงวันที่ 4 สิงหาคม 2554 ผลการดำเนินงาน ระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม 2554 – 28 สิงหาคม จัดทำร่าง ผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุม ภายใน 5 องค์ประกอบ มาจัดทำแบบ ปย จัดทำหนังสือเวียนแจ้งให้ ส่วน / กลุ่ม รายงาน ปย.2 ส่งให้ฝ่ายแผนงานและติดตาม ประเมินผล ส่วนอำนวยการ ตามหนังสือ ทส /07922 ลงวันที่ 4 สิงหาคม 2554 ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการควบคุม ภายใน

4 คำอธิบายผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ. ศ แนวทางประเมินผลตามเกณฑ์การให้คะแนน ในแต่ละขั้นตอน ผลการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน 1. สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 3 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานการควบคุมภายในรับผิดชอบ การกำหนดแนวทางการประเมินผลการควบคุมภายในในภาพรวมของสำนักบริหารพื้นที่ อนุรักษ์ที่ 3 และแจ้งเวียนทุกส่วน / ทุกกลุ่ม ทราบหลักเกณฑ์แนวทางการปฏิบัติในการ ประเมินผลเกี่ยวกับการควบคุมภายในส่งสำนักแผนงานและสารสนเทศ ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 3 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานบริหารความ เสี่ยงและการควบคุมภายในของสำนักฯ ที่ 0441/2554 ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2554 โดย แจ้งแนวทางการปฏิบัติการควบคุมภายในในการประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานฯ เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2554 และแจ้งเวียนหนังสือให้ทุกส่วน / กลุ่มทราบ และได้ส่งสำเนา คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานฯ ให้สำนักแผนงานและสารสนเทศ เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ประชุมคณะทำงานการควบคุมภายใน เพื่อติดตามแผนการปรับปรุงระบบการควบคุม ภายใน ของปีงบประมาณ พ. ศ ( รอบ 6 เดือน 31 มีนาคม 2554) ของสำนักบริหาร พื้นที่อนุรักษ์ที่ 3 และส่งรายงานผลการดำเนินงานตามแผนการปรับปรุงดังกล่าวให้สำนัก แผนงานและสารสนเทศ ภายในวันที่ 8 เมษายน สำนักฯ ได้จัดการประชุมเพื่อติดตามแผนการปรับปรุงระบบการควบคุมภายใน ประจำปี งบประมาณ พ. ศ ( รอบ 6 เดือน 1 ตุลาคม มีนาคม 2554) เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2554 และส่งรายงานผลการปรับปรุงตามแบบ ติดตาม ปย.2 ให้สำนักแผนงานและ สารสนเทศ วันที่ 5 เมษายน สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 3 จัดทำแบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ คือ สภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม การสื่อสารและสารสนเทศ และการติดตามประเมินผล และจัดทำแบบสอบถามการควบคุม ภายใน ประกอบด้วย แบบสอบถามด้านการบริหาร ด้านการเงิน และด้านอื่นๆ ส่งสำนัก แผนงานและสารสนเทศ ภายในวันที่ 4 กรกฎาคม สำนักฯได้ดำเนินการประชุมคณะทำงานบริหารความเสียงและควบคุมภายในเมื่อ 2 พฤษภาคม 2554 เพื่อจัดทำแบบประเมินของการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบคือ สภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม การสื่อสารและ สารสนเทศ และการติดตามประเมินผล และจัดทำแบบสอบถามการควบคุมภายใน ประกอบด้วย แบบสอบถามด้านการบริหาร ด้านการเงิน และด้านอื่นๆ ส่งสำนักแผนงาน และสารสนเทศ ตามหนังสือ ที่ ทส /6388 ลว. 28 มิถุนายน สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 3 นำผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ๕ องค์ประกอบ มาจัดทำแบบ ปย. 1 และทำการประเมินกิจกรรมต่างๆ นำจุดอ่อน / ความเสี่ยง ที่ได้จากแบบสอบถามการควบคุมภายใน และจุดอ่อน / ความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ตาม ภารกิจหลักมารายงานการประเมินผล และการปรับปรุงการควบคุมภายใน ตามแบบ ปย.2 และส่งแบบ ปย.1 และแบบ ปย.2 ให้สำนักแผนงาน และสารสนเทศ ภายในวันที่ 5 ตุลาคม สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 3 ดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน ด้าน ประสิทธิผล โดยวัดผลจากระดับค่าคะแนนของตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนัก ในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ / ภารกิจกลัก / เป้าหมายผลผลิต ของส่วนราชการตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย ( ตัวชี้วัดที่ 3.1,3.2) ส่งกรมอุทยาน แห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ภายในวันที่ 5 ตุลาคม

22/09/575