ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เปลี่ยนวิธีคิด…พลิกชีวิตคุณ (Change your thinking…Change your life)
Advertisements

มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
การลดความวิตกกังวล.
การปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ปัญหาในการสั่งงาน 1. ตัวเราเอง/หัวหน้าไม่กล้า, เกรงใจ, กลัว ต้องเชื่อมั่นตนเอง 2. ไม่รู้ขั้นตอนสั่งงานที่ดี จับประเด็นไม่ได้
รายงานผลการศึกษาทางจิตวิทยา นักเรียนหญิงก่อเหตุทำร้ายกัน
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี
การให้คำปรึกษา ผศ.ดร.สมบัติ ตาปัญญา ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
EQ หลักสูตร การบริหารอารมณ์ สู่การทำงานอย่างมืออาชีพ
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
หลักการพัฒนา หลักสูตร
สัปดาห์ที่ 5 เรื่อง การจูงใจ.
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
กิจกรรมถอดสกัดความรู้
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
การเป็นอาจารย์ที่ปรึกษามืออาชีพด้วยศาสตร์การให้คำปรึกษา
การสัมภาษณ์ และการให้คำปรึกษา
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
การบริหารความพึงพอใจของทีมงาน
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
คัชชาตา เจริญวงค์ นักจิตวิทยาคลินิก ศูนย์สุขภาพจิตที่ 4 กรมสุขภาพจิต
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
ทักษะการใช้กิริยาท่าทาง และบุคลิกการเป็นครู
ลูกใครวะ.
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
Self Esteem ดร. กรรณิกา คำดี.
นางจุไรวรรณ ศรีศักดิ์นอก นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
การส่งเสริมพัฒนาการและพฤติกรรมเด็กอย่างสร้างสรร
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
สังคมต้นแบบเรียนรู้การป้องกัน และดูแลโรคกระดูกพรุน
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สื่อกับ การรับรู้ของเด็ก
การสร้างวินัยเชิงบวก
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
ประเภท ระดับ และพฤติกรรมการเรียนรู้
การส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
การแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
วงจรของการเห็นคุณค่าแห่งตน
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
การสื่อสารด้วยใจคลายวิกฤต
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง

วัยรุ่น จุดอ่อน อารมณ์ร้อน ไร้สาระ ความสนุก มาก่อน ไม่มีเหตุผล ไร้สาระ ความสนุก มาก่อน ไม่มีเหตุผล ใจง่าย(เชื่อคนง่าย) หัวใจอ่อนแอ ติดเพื่อน ติดแฟน จุดแข็ง กล้าคิด แสดงออก กล้าทำ กล้าตัดสินใจ กล้าเสี่ยง กล้าลองของใหม่ แสวงหาสิ่งแปลกใหม่

เป้าหมายการให้คำปรึกษา สร้างความสัมพันธ์ที่ดี สร้างแรงจูงใจสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ร่วมสำรวจและเข้าใจเหตุของปัญหา ร่วมกำหนดเป้าหมายการเปลี่ยนแปลง แสวงหาทางแก้ปัญหาร่วมกัน

การสร้างสัมพันธภาพที่ดี การถาม หลีกเลี่ยงการ “สอบสวน” “จับผิด”

การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี “ฟังอย่างใส่ใจ” = L-A-D-D-E-R  ทักษะการฟัง : การที่ครูรับฟังความคิด อารมณ์ ความรู้สึกของนักเรียน ขณะให้การดูแลช่วยเหลือ “ฟังอย่างใส่ใจ” = L-A-D-D-E-R

“ฟังอย่างใส่ใจ” = L-A-D-D-E-R L-LOOK ประสานสายตา ตั้งใจฟัง มีสติ จับประเด็นปัญหา A-ASK ซักถามจุดสงสัยในประเด็นปัญหา

D-DON’T INTERRUPT ไม่แทรก ไม่ขัด ถ้าพูดมาก – สรุปเป็นช่วงๆ D-DON’T CHANGE THE SUBJECT แกะรอยตามประเด็นปัญหา – ไม่เปลี่ยนเรื่อง E-EMOTION ใส่ใจการแสดงออกทางอารมณ์(Verbal & Non-verbal) R-RESPONSE แสดงสีหน้าท่าทาง การตอบสนอง

การสร้างแรงจูงใจ ยอมรับปัญหา อยากเปลี่ยนแปลง การสร้างแรงจูงใจ ยอมรับปัญหา อยากเปลี่ยนแปลง กระตุ้นให้คิดและรู้สึกได้ด้วยตัวเองถึงข้อดี ข้อเสีย ของการกระทำหรือไม่กระทำ ปล่อยให้เกิดการยอมรับจากภายใน - รู้สึกว่าเป็นความคิดและการตัดสินใจโดยตนเอง - ไม่รู้สึกถูกบังคับให้ยอมรับ ให้แรงจูงใจทางบวก - ยกย่อง/ชมเชย/ชมตนเองได้ - ให้รู้จักดี จุดเด่นของตนเอง - ให้วางเป้าหมายในอนาคตของตนเอง

ร่วมสำรวจ และเข้าใจเหตุของปัญหา ร่วมสำรวจ และเข้าใจเหตุของปัญหา ปัจจัยเสี่ยง (ภูมิหลัง) ปัจจัยกระตุ้น (เหตุจูงใจ) ปัจจัยเสริม (เหตุที่ยังคงทำพฤติกรรมนั้นๆ อยู่)

ร่วมกำหนดเป้าหมาย การเปลี่ยนแปลง สำรวจความต้องการที่แท้จริง ค้นหาวิธีตอบสนองความต้องการ เลือกวิธีปฏิบัติที่เป็นไปได้

หาวิธีปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ปรับพฤติกรรม ปรับเปลี่ยนความคิด แบบอย่างที่ดี จัดสิ่งแวดล้อมเหมาะสม - กำจัดปัจจัยเสี่ยง - สร้างโอกาสให้ทำดี

วิธีไม่เปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง เอาชนะตรงๆ ลงโทษรุนแรง ประจาน ไล่ออก ไม่สม่ำเสมอ

คุณสมบัติผู้ให้คำปรึกษาที่ดี เป็นกลาง ยอมรับวัยรุ่น ไม่ตัดสิน

วัยรุ่นต้องการอะไรจากผู้ใหญ่ ความไว้วางใจ ความอิสระ การนับถือ วางแผนร่วมกัน ความยุติธรรม ความมั่นคง ความรัก เข้าใจ แบบอย่างที่ดี

กระบวนการให้การปรึกษา Co. Cl. Cl. Co. 1. สร้างสัมพันธภาพ 5. ยุติการปรึกษา - ฟัง -สังเกต - ถาม 2. ตกลงบริการปรึกษา 4. วางแผนแก้ไขปัญหา ให้ข้อมูล เสนอแนะ ให้กำลังใจ พิจารณาทางเลือก ทวนความ สะท้อนความรู้สึก สรุปความ 3. สำรวจ ทำความเข้าใจปัญหา สาเหตุ ความต้องการ

กฎการอยู่กับวัยรุ่น รับฟังด้วยใจ คาดหวังตามจริง ขอร้อง เป็นการต่อรอง ให้อภัย ให้ข้อมูล แทนการแนะนำ/สั่งการ เมตตา รักษาความลับ สร้างความไว้วางใจ ปลูกรัก และศรัทธา