ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับบทภาพยนตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

การ อบรม โครงการพัฒนาระบบ สารสนเทศชุมชนภายใต้ โครงการจัดตั้งศูนย์การ เรียนรู้ ICT ชุมชน.
Work Shop: Set Actor & Story
วิธีการผ่อนคลายความเครียด
กลุ่ม L.O.Y..
นิทาน เรื่อง กระต่ายกับเต่า
เรื่อง น่าคิด.
นิทาน เรื่อง สองพี่น้องผจญภัย
ทำไมจึงครอบตาม้าแข่ง
You Have Two Choices 1.
การใช้งานเครื่องถ่าย
มาตีลงบนมือน้อย ๆ นับครั้งไม่ถ้วน โดยไม่ทันนึกว่า
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ กุมารแพทย์และจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น
การบริหารร่างกายทั่วไป
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
กรุณาเปิดเครื่องเสียง
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
ขณะที่ต้องนั่งรอนานหลายชั่วโมง เธอตัดสินใจซื้อหนังสือมาอ่าน พร้อมคุ้กกี้สำหรับทานเล่นอีกถุงหนึ่ง
มีเรื่องดี ๆ อยากให้อ่าน
ระบบอนุภาค.
Classification Abstraction
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
การบริหารกล้ามเนื้อต้นคอ
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
ทุกอย่างย่อมมีสิ่งที่ดีกว่าเสมอ
**สูตรนำไปสู่ความสำเร็จ**
มีเรื่องเล่าว่า. มีพระองค์หนึ่ง ชอบทำอะไรแปลกๆ วันหนึ่ง
การสร้างบุคลิกภาพที่ดี
โดย... อาจารย์อ้อ สุธาสินี
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่25 เทคนิคการนำเสนองานด้วย Power Point
ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับบทภาพยนตร์
การผลิตภาพยนตร์ การฝึกอบรมหลักสูตรภาคปฏิบัติ ปี 2552
การผลิตภาพยนตร์ การฝึกอบรมหลักสูตรภาคปฏิบัติ ปี 2552
แสง สี ไฟ ในภาพยนตร์ Light Color Gaffer
โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารมี 2 ประเภทคือ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ลิง ลา.
ศิลปะการพูดในที่ชุมชน
MY DOGS MY LOVE จัดทำโดย นางสาวณัฐพร แสงอรุณ
เทคนิคการนำเสนอ วันจันทร์ที่ 23 พฤษภาคม 2554
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
Background / Story Board / Character
A good reminder... ♫ ♫.
อาณ์รมของเด็ก     ลักษณะเด่นทางอารมณ์ของเด็กวัย 3-5 ขวบ มักเป็นเด็กที่แสดงออกอย่างเปิดเผยชัดเจน และแสดงออกตรง ๆ เช่น รัก รื่นเริง โกรธ โมโห หงุดหงิด อิจฉา.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
การถ่ายวีดีโอ.
กาลครั้งหนึ่ง ยังมีแม่มดตัวเล็กจอมเกเรอยู่ตนหนึ่ง มีนิสัยชอบแกล้งเด็กๆ ทุกคืนนางจะขี่ไม้กวาดเหาะมาแอบดูตามหน้าต่าง ว่ามีของอะไรบ้าง ถูกวางทิ้งไว้และขโมยเอาไปซ่อน.
ปัจจัยสำคัญของภาพยนตร์
องค์ประกอบของวรรณคดี
งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รพ.หาดใหญ่
บทที่8 การเขียน Storyboard.
การสร้างสรรค์บทละคร.
องค์ประกอบของบทละคร.
คาถาสำหรับนักพูด.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
คนตัดไม้กับขวานเงินขวานทอง
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
Lighting Designer นักออกแบบแสง.
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
“คำพูดคุณครู”.
นิทานเรื่อง กระต่ายกับเต่า
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
บทลงโทษด้วย ความรัก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับบทภาพยนตร์ ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับบทภาพยนตร์

เฟรม (frame) = 24 ต่อ วินาที โครงสร้างทางกายภาพของภาพยนตร์ เฟรม (frame) = 24 ต่อ วินาที ช็อท (shot) = เฟรม + เฟรม คือ ภาพเหตุการณ์ย่อยๆ เรียงกัน = ฉาก ซีน (scene) = ช็อต + ช็อท หมายถึง สถานที่ (place) ฉากที่จัดขึ้น (set) = ให้เหตุการณ์ เกิดขึ้นในสถานทีเดียวกัน และ มีเหตุการณ์ ที่ต่อเนื่อง = ฉาก ซีเควนซ์ (sequence) = ฉาก + ฉาก คือ ตอนของเรื่อง เรื่อง (story) = ตอน + ตอน

เแนวคิด-ปัจจัยสำคัญ ในการจัดทำบทภาพยนตร์ แนวคิด-ปัจจัย ในการจัดทำ บทภาพยนตร์ เแนวคิด-ปัจจัยสำคัญ ในการจัดทำบทภาพยนตร์ (1) โครงสร้างเรื่อง (story structure) (2) การวิเคราะห์บทภาพยนตร์ สู่การดำเนินงานสร้าง

องค์ประกอบที่มีผลต่อการบริโภคภาพยนตร์ Story Production Audience & Marketing

โครงสร้างเรื่อง (story structure) แนวคิด-ปัจจัย ในการจัดทำ บทภาพยนตร์ โครงสร้างเรื่อง (story structure) *3-act *ความขัดแย้ง (conflict) *ผ่อนคลาย *ตึงเครียด *หักมุม *ประหลาดใจ

โครงสร้างเรื่อง (story structure) เรื่อง (story) แก่นเรื่อง (theme) แนวคิด-ปัจจัย ในการจัดทำ บทภาพยนตร์ โครงสร้างเรื่อง (story structure) เรื่อง (story) แก่นเรื่อง (theme) โครงเรื่อง (plot) และ โครงเรื่องขยาย (treatment) ตัวละคร (character) บทสนทนา (dialogue) ฉาก มุมมอง (point of view) ในการเล่าเรื่อง

(1) บทโครงร่าง (story outline) ลำดับ การจัดทำ บทภาพยนตร์ (1) บทโครงร่าง (story outline) -แนวคิดของเรื่อง (theme) แนวภาพยนตร์ (genre) -ประโยคหลัก (premise) -เรื่องย่อ (synopsis) -โครงสร้างเรื่อง หรือ โครงสร้างการดำเนินเรื่อง (plot structure) = องค์ 3

ภาพยนตร์สั้น เรื่อง “นึกว่าไม่โดน” (An Umbrella) ผู้เขียน: สู่ดิน ชาวหินฟ้า โทร. 08–9644–1048 ความยาวเรื่อง: 1 ตอน 2 นาที แนวคิดของเรื่อง (theme) : อย่าเพิ่งดีใจไป อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา แนวภาพยนตร์ (genre) : แอ็คชั่น ตลก ประโยคหลัก (premise): .. อะไรเกิดขึ้น เมื่อร่มเกิดไม่กาง ขณะฝนตก เรื่องย่อ (synopsis): เด็กวัยแรกรุ่นผู้หนึ่ง ขณะเดินกลับบ้าน เกิดฝนตก แต่ร่มที่เขาเตรียมมาไม่กาง เขาคิดว่า จะทำอย่างไรจึงจะไม่เปียกฝน ในที่สุด ร่มก็กางออกได้เอง เขาไม่ต้องเปียกฝนอีกแล้ว แต่สิ่งที่เขาคิดมันผิด เขาโดนน้ำเปียกเข้าจนได้. โครงสร้างเรื่อง (plot structure) : ..

โครงสร้างเรื่อง (plot structure) : หลังจากเลิกเรียนพิเศษ เขาแยกจากกลุ่มเพื่อนๆ เดินเพลิดเพลินไปตามฟุตบาท บนท้องฟ้า เมื่อมองผ่านอาคารสูง เห็นเมฆดำคล้ำ เขาเดินมาได้สักครู่ เขาก็หยุดชะงัก ยื่นมือแบบออกไปในอากาศ เม็ดฝนหยดแมะใส่ฝ่ามือของเขา เขาตกใจ จึงรีบเดิน และกึ่งเดินกึ่งวิ่งเพื่อเข้าที่กำบังฝน เขาวิ่งไปได้สัก 5 ก้าว ฝนก็ลงเม็ดหนาขึ้น เขาจึงวิ่งเข้าหลบในมุมอาคารแห่งหนึ่งข้างถนน ก่อนถึงป้ายรถเมล์ เขาครุ่นคิดอยู่ครู่หนึ่ง นึกขึ้นได้ว่าเขาก็มีร่มคันหนึ่ง ในกระเป๋าเป้ซึ่งสะพายอยู่บนหลัง เขาจึงใช้มือยื่นไปหยิบมันออกมา ขณะที่มีสาวๆ วัยรุ่นวิ่งหนีฝนตัดหน้าเขาไป เขากระหยิ่มยิ้มอย่างพอใจ และคิดในใจว่า สาวๆ พวกนี้ ช่างไม่รู้จักอะไรเสียเลย หน้าฝนแท้ๆ น่าจะเตรียมร่มมาด้วย โชคดีนะที่เขาเอาร่มติดมาด้วย ว่าแล้ว เขาก็ยิ้มชื่นชมในความฉลาดของตัวเอง

โครงสร้างเรื่อง (plot structure) : (ต่อ) เขาเอานิ้วโป้งกดปลดล็อก เพื่อให้ร่มกาง แต่มันไม่กาง กดอีก 2 ครั้ง ก็ไม่กาง ฝนลงเม็ดหนักขึ้น มีคนผู้ชาย สองคน วิ่งอย่างเร็วตัดหน้าเขาไป เพื่อหนีฝน ตอนนี้เขาไม่สนใจใครอีกแล้ว เขาพยายามเคาะคันร่ม เพื่อให้กันกางออก แต่มันก็ไม่กาง ฝนก็ลงเม็ดหนักขึ้น เขารู้สึกไม่พอใจขึ้นมาทันที เขาจึงโยนมันลงพื้น เอาเท้าเหยียบๆ ๆ จะให้มันกางออก แต่ก็ไร้ผล เขาจึงเตะร่มกระเด็นไปด้วยความโมโห ร่มกระเด็นกระดอนไปไกล ประมาณ 3 เมตร หยุดแน่นิ่งอยู่ข้างสาวๆ ที่ดูเหมือนจะเริ่มเปียกฝนกันแล้ว พวกสาวๆ ต่างมองไปที่ร่ม ครู่หนึ่ง อยู่ๆ มันก็กางพรึบออกมา เด็กหนุ่มเห็นว่าร่มมันกางได้เอง ก็แปลกใจ แต่แล้วเขาก็รู้สึกโล่งอก ที่ร่มมันกางออกได้แล้ว เขาจึงรีบวิ่งไปที่ร่ม เขายืนพิจารณาอยู่ครู่หนึ่ง ว่ามันกางออกได้ยังไง แต่ในที่สุดไม่ต้องคิดอะไรมากในเวลานี้ ไหนๆ มันก็กางออกมาแล้ว เขาก็คว้ามันขึ้นมากันฝน เพื่อไม่ให้เปียกปอนไปมากกว่านี้ พร้อมกับดีใจ มองพวกสาวๆ อย่างเย้ยๆ ที่วันนี้เขาคงไม่เปียกปอนเป็นหมาตกคูน้ำ ให้เพื่อนๆ หัวเราะ หรืออายสาวๆ พวกนี้

โครงสร้างเรื่อง (plot structure) : (ต่อ) เขาถือร่มกันฝน เดินลอยหน้า ผ่านพวกสาวๆ ไป พอพ้นไปได้สักครู่ ก็มีรถยนต์คันหนึ่งวิ่งตัดผ่านหน้าเขาไป เห็นอีกที เขาก็ตกใจ เมื่อรู้สึกว่า มีน้ำสกปรกสาดเทเต็มใบหน้าของเขา ดูเหมือนลูกหมาตกน้ำไม่มีผิด จบ.

(2) บทแสดง (screenplay) ลำดับ การจัดทำ บทภาพยนตร์ (2) บทแสดง (screenplay) *mise-en-scene (ฉาก-สี-แสง-เงา แอ็คชั่น-ตำแหน่ง-เสื้อผ้า-หน้า-ผม สนทนา-เงียบ) -ฉาก สถานที่ -เวลา -ตัวละคร -บทแอ็คชั่น

ดูตัวอย่าง ../Screenplay.Example

(3) บทถ่ายทำ (shooting) -ลำดับ sequene, scene, shot -action, blocking ลำดับ การจัดทำ บทภาพยนตร์ (3) บทถ่ายทำ (shooting) -ลำดับ sequene, scene, shot -action, blocking -prop set -breakdown sheet, continue sheet ดูตัวอย่าง ../แค้น คลั่ง หลอน

ฉาก และ องค์ประกอบฉาก (mise–en–scene)

องค์ประกอบฉาก (mise–en–scene) (1) ฉาก - เวลา :สถานที่ เหตุการณ์ กลางวัน กลางคืน ภายนอก ภายใน /สถานที่จริง /สตูดิโอ /สถานที่จำลอง :อุปกรณ์ประกอบ /สอดคล้องกับเรื่องราว /สื่อความหมาย /สะท้อนวัฒนธรรม /เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหา (2) ตัวละคร / ตำแหน่งการแสดง /แอ็คชั่น /เสื้อผ้า-หน้า-ผม (3) แสง-เงา-สี โทนสี มืด สว่าง เข้ม จาง สี..

องค์ประกอบฉาก (mise–en–scene) (3) แสง-เงา-สี โทนสี มืด สว่าง เข้ม จาง สี.. /เลียนธรรมชาติ /สื่อความหายซ่อนเร้น /แนวภาพยนตร์ /เร้าใจผู้ชม /เสริมเรื่องราว

องค์ประกอบการจัดแสงในการถ่ายทำภาพยนตร์ –สร้างความเข้าใจในภาพ ฉาก และ องค์ประกอบฉาก (mise–en–scene) องค์ประกอบการจัดแสงในการถ่ายทำภาพยนตร์ –สร้างความเข้าใจในภาพ –สร้างบรรยากาศของเรื่องราว –ทำให้รับรู้เกี่ยวกับ มิติสถานที่ และ มิติเวลา (มืด สว่าง) –ให้เกิดความสวยงาม

สรุป มีส-ออง-แซง มีความสำคัญ 4 ประการ .. ฉาก และ องค์ประกอบฉาก (mise–en–scene) สรุป มีส-ออง-แซง มีความสำคัญ 4 ประการ .. (1) ให้เกิดความสมจริง /ทำให้ผู้ชม เชื่อ และ ยอมรับ ในเหตุการณ์ ที่นำเสนอบนจอภาพ (2) ให้เกิดองค์ประกอบภาพ ที่สอดคล้องกับเรื่องราว /นักแสดง /แอ็คชั่น /เสื้อผ้า หน้า ทรงผม /อุปกรณ์ประกอบฉาก (3) การสื่อความหมายด้วยฉาก และองค์ประกอบต่างๆ (4) เพื่อผลการตอบรับจากผู้ชม /นอกเหนือจาก นักแสดง และ เรื่องราว

ฉาก และ องค์ประกอบฉาก (mise–en–scene) มีส-ออง-แซง มีความสำคัญ 4 ประการ ..

ตัวละคร (specification ID. character) กำกับการแสดง ตัวละคร (specification ID. character) (1) ลักษณะทางกายภาพ (physical) รูปร่างหน้าตา. ทรงผม. เสื้อผ้า. เพศ–อายุ. อาชีพ–รายได้. การศึกษา–โลกทัศน์ (2) ลักษณะทางจิต (psychology) ความปรารถนา–ใฝ่ฝัน. ความกลัว–เกลียด (3) แอ็คชั่น และ จังหวะ (action and beat)

อิริยาบถ. นอน นั่ง ยืน เดิน วิ่ง กลิ้ง กิน เกา ส่าย กระดิก กำกับการแสดง อิริยาบถ. นอน นั่ง ยืน เดิน วิ่ง กลิ้ง กิน เกา ส่าย กระดิก / จังหวะ / ระยะ / ตำแหน่ง

กำกับการแสดง การแสดงออกทางอารมณ์ (mood) ดีใจ – ยิ้ม. เสียใจ – ร้องไห้. ขำ – หัวเราะ. กลัว – เลิกลั่ก. ตกใจ – สะดุ้ง. กังวลใจ ห่วงใย – กระสับกระส่าย. เบื่อ เหนื่อย ท้อแท้ – ถอนหายใจ. ฟุ้งซ่าน – หลุกหลิก. สงบ – นิ่ง

แขน–ขา: ดึง ผลัก เหวี่ยง ชก กระชาก เตะ ถีบ กระทืบ กระทุ้ง กำกับการแสดง แอ็คชั่น แขน–ขา: ดึง ผลัก เหวี่ยง ชก กระชาก เตะ ถีบ กระทืบ กระทุ้ง ลำตัว: ยักไหล่ กระแทก ทุ่ม ดุน ดัน หัว: ก้ม เงย ผงก ส่าย การแสดงออกทางใบหน้า ดวงตา: จ้อง ชำเรือง ค้อน ล่องลอย หลับ พูด สนทนา (dialogue): (สั้น ยาว ช้า เร็ว ติดอ่าง เสียงสูง เสียงต่ำ)

การตัดต่อเสียง และ ลำดับภาพ

การตัดต่อเสียง และ ลำดับภาพ เสียง ดนตรี ผ่อนคลาย–สงบ สดใส–ร่าเริง รัก–โรแมนติก ปลุกเร้า–กำลังใจ รุกรน–เร่งรีบ ท้อแท้–อ่อนล้า ระทึก–สยองขวัญ ตื่นเต้น–ตกใจ เอฟเฟค (special effect) ฝนตก ไฟไหม้ ควัน สัตว์ร้อง ชน กระแทก แตก สัญญาณ