แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
การจัดตั้ง กลุ่มโค เนื้อ ผลการปฏิบัติงานผสมเทียม ต. ค. 56 – เม. ย. 57.
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 พค 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข งานระบาดวิทยา 5 มิถุนายน 2557
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ไข้เลือดออก.
รายงานการเฝ้าระวังโรคช่วงสถานการณ์อุทกภัย จังหวัดนครปฐม 21 พฤศจิกายน 2554 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2552 ดรุณี โพธิ์ศรี
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
ผู้ป่วยไข้เลือดออกจังหวัด กำแพงเพชร ปี 2556 พบผู้ป่วย 484 ราย อัตราป่วย ต่อแสน พบผู้ป่วย เสียชีวิต 1 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.21 ข้อมูล ณ 23 มิถุนายน.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2556
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
รอบที่ 2 ปีงบประมาณ สรุปตามมิติทาง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์กร ร้อยละ 22 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 15 คุณภาพการบริการ ร้อยละ 22 ประสิทธิผลตาม.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อำเภอด่านซ้าย
การดำเนินการควบคุมป้องกันโรคคอตีบ(Diphtheria) อ.ด่านซ้าย
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ จังหวัดนครพนม

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครพนม ได้รับรายงานจากสถานบริการสาธารณสุขทุกแห่งในพื้นที่จังหวัดนครพนม มีผู้ป่วยทั้งสิ้น 242 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 34.47 ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต 1 ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 0.14 อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ 0.42 อัตราส่วนผู้ป่วยชายต่อหญิง 1.18: 1

จำนวนผู้ป่วยในปัจจุบัน จำแนกรายเดือน ผู้ป่วยพบสูงขึ้นตั้งแต่เดือน เมษายน ผู้ป่วยสูงสุดเดือน มิถุนายน 67 ราย, เดือนกรกฎาคม 42 ราย และเดือนสิงหาคมนี้มีผู้ป่วย 41 ราย กันยายน 28 ราย และเดือนตุลาคม 11 รายซึ่งปีนี้พบว่าสูงกว่าค่าเป้าหมายและค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลังในบางเดือน โดยกลุ่มอายุที่พบสูงสุด 10 – 14 ปี ส่วนใหญ่เป็นนักเรียน

จำนวนผู้ป่วยย้อนหลัง 4 สัปดาห์ (ราย) อำเภอ ผู้ป่วยรวม อัตราป่วย/ จำนวนผู้ป่วยย้อนหลัง 4 สัปดาห์ (ราย)   (ราย) ปชก.แสนคน wk 39 wk 40 wk 41 wk 42 wk 43 รวม เมืองนครพนม 8 5.65 0.00 ปลาปาก 9 17.24 ท่าอุเทน 24 41.34 บ้านแพง 5 14.50 1 2 3 8.70 ธาตุพนม 72 86.56 7 8.42 เรณูนคร 4.36 นาแก 60 79.01 1.32 ศรีสงคราม 30 44.42 4 5.92 นาหว้า 1.99 โพนสวรรค์ 27 48.58 6 10.80 นาทม 4.45 วังยาง 20.10 242 34.47 22 3.13

การดำเนินงานการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัดนครพนม ปี 2556 - จัดทำแผนปฏิบัติการ ปี 2556 ระดับจังหวัดและอำเภอ - จัดทำรายละเอียดตัวชี้วัด ปี 2556 ระดับจังหวัดและอำเภอ - ทำประชาพิจารณ์ร่วมกับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ระดับจังหวัด - ของบประมาณสนับสนุนจากงบส่งเสริมและป้องกันโรคระดับจังหวัด/ อำเภอ/ อปท./ อบต./ และกองทุนต่างๆในระดับอำเภอ

การดำเนินงานการป้องกันควบคุมโรคคอตีบ จังหวัดนครพนม ปี 2556 - จัดประชุมผู้บริหารและผู้รับผิดชอบงานระดับโรงพยาบาลและสสอ. ในเรื่องมาตรการ/ แนวทางการวินิจฉัย/ การรักษา/ การควบคุมป้องกันโรค โดยวิทยากรจาก สสจ. และแพทย์จากโรงพยาบาลนครพนม - จัดทำคู่มือมาตรการเฝ้าระวังและควบคุมโรคคอตีบ ให้แก่หน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับ - สำรวจความครอบคลุมการได้รับวัคซีนให้เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ทุกราย และหญิงมีครรภ์ ประสานการเบิกจ่ายวัคซีนจากจากองค์กรเภสัช และหน่วยงานสนับสนุน - จัดจัดทำคำสั่งศูนย์ปฏิบัติการ War roomในระดับจังหวัด เพื่อเตรียมรับสถานการณ์

ขอบคุณค่ะ