งานวิจัยในชั้นเรียน พฤติกรรมการไม่ตรงต่อเวลาและการไม่รับผิดชอบเข้าชั้นเรียนวิชาอนุกรมวิธานแมลง I ของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชากีฏวิทยา ประจำภาคการศึกษา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
Advertisements

สศ การเมืองและการปกครองของไทย POL
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การบริหารความเสี่ยง และการวางระบบควบคุมภายใน
โครงการ “การจ่ายค่าตอบแทนวิทยากร ในรายการเปิดประตูสู่มหาวิทยาลัย”
การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกม
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะและการ วิเคราะห์นโยบาย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา
หลักเกณฑ์การคิดคะแนนประเมินผล
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์พิศมัย เดชคำรณ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การสอนโดยใช้บทเรียนโปรแกรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
นางสาวประพันธ์ศรี สมจันทร์ฉาย
ชื่อเรื่อง การปรับพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาโดยใช้วิธีการเสริมแรงด้วยการให้คะแนนเพิ่มในรายวิชาการขายเบื้องต้น 2 ผู้วิจัย นายสุทธิวัฒน์ บุษบิล.
การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การแก้ปัญหาการขาดเรียน ในรายวิชาโครงการ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชา การบัญชีเบื้องต้น 2 นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 ห้อง 1 และ ห้อง 2 โดยใช้เทคนิคการสอนการสอนแบบระดมพลังสมอง.

ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
วิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน เพื่อปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานวิจัยในชั้นเรียน พฤติกรรมการไม่ตรงต่อเวลาและการไม่รับผิดชอบเข้าชั้นเรียนวิชาอนุกรมวิธานแมลง I ของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชากีฏวิทยา ประจำภาคการศึกษา 2/2553

ข้อมูลเบื้องต้น วิชาอนุกรมวิธานแมลง I งานอนุกรมวิธานของแมลง ประวัติเชิงวิวัฒนาการของแมลง การจัดจำแนกแมลงออกเป็นอันดับและวงศ์ต่าง ๆ รวมทั้งรายละเอียดเกี่ยวกับชีววิทยาและถิ่นที่อยู่อาศัย ตลอดจนลักษณะทางอนุกรมวิธาน (taxonomic characters) ของแมลง อังคาร-ศุกร์ เวลา 09:30 – 11.00 น.

ปัญหา เขาชั้นเรียนไมตรงตอเวลาและการขาดความรับผิดชอบเข้าชั้นเรียน ปัญหาที่สำคัญที่เกิดจากพฤติกรรมของนักศึกษาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ก่อให้เกิดปัญหาการเรียนที่ล่าช้า เรียนไม่ทันหรือไม่เข้าใจในเนื้อหา คะแนน ลำดับขั้นผลการเรียนน้อย ส่งผลกระทบต่อผลคะแนนรวมสะสม ปัญหาสำคัญที่ควรได้รับการปรับปรุงแก้ไขหรือหาวิธีแนวทางที่จะช่วยปรับปรุงพฤติกรรมของนักศึกษา เป็นความรับผิดชอบของอาจารย์ประจำวิชาที่ควรให้ความสำคัญและหาวิธีการที่จะแก้ไขปัญหา

วัตถุประสงค์ เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงพฤติกรรมการเขา ชั้นเรียนไมตรงตอเวลาและการขาดความรับผิดชอบเข้าชั้นเรียนวิชาอนุกรมวิธานแมลง I ของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชากีฏวิทยา ประจำภาคการศึกษา 2/2553

วิธีการวิจัย สำรวจปัญหาที่พบในชั้นเรียน กำหนดกลุ่มเป้าหมายนักศึกษาจำนวน 5 คนที่มักจะมีพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนไม่ตรงต่อเวลาและขาดความรับผิดชอบเข้าชั้นเรียน ชี้แจงข้อข้อตกลงเรื่องเวลาและการทดสอบย่อยโดยไม่แจ้งล่วงหน้า จัดทำข้อสอบย่อยเพื่อใช้ทดสอบและเป็นการกระตุ้นให้นักศึกษาตื่นตัวเข้าชั้นเรียน สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา

ผลการวิจัย จากการสังเกตปัญหาและทดลองแก้ไขปัญหาพบว่าในช่วงเดือนแรกนักศึกษามักมีพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนไม่ตรงต่อเวลาโดยเวลาเรียนเริ่มเวลา 09.30 น. แต่นักศึกษามักจะทยอยเข้าชั้นเรียน จนถึงเวลา 09.50 น. หลังจากที่ได้ชี้แจงข้อตกลงในการทดสอบย่อยพบกว่านักศึกษามีพฤติกรรมดีขึ้น

ผลการวิจัย การทดสอบย่อยที่ 1 (วันที่ 9 พ.ย. 53) 5 2 ครั้งที่ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย จำนวนนักศึกษาเข้าชั้นเรียนไม่ตรงเวลา จำนวนนักศึกษาขาดความรับผิดชอบการเข้าชั้นเรียน การทดสอบย่อยที่ 1 (วันที่ 9 พ.ย. 53) 5 2 การทดสอบย่อยที่ 2 (วันที่ 14 ธ.ค. 53) การทดสอบย่อยที่ 3 (วันที่ 4 ก.พ. 54) 1

ข้อสังเกต หากมีการกระตุ้นหรือมีกิจกรรมที่ทำให้นักศึกษาได้ตื่นตัวอยู่เสมอโดยไม่ทิ้งช่วงระยะเวลามากนักก็จะทำให้นักศึกษามีความกระตือรือล้น เพราะทำให้ไม่รู้สึกเบื่อหรือจำเจ หรืออาจต้องการคะแนนพิเศษหรือไม่ต้องการถูกหักคะแนนไป ดังนั้นจึงควรมีกิจกรรมหรือการทดสอบอยู่บ่อยครั้งเพื่อให้เกิดความตื่นตัวเช่น สัปดาห์ละครั้ง โดยไม่ควรทิ้งระยะเวลาห่างนานเกินไป พฤติกรรมการเขาชั้นเรียนไมตรงตอเวลาและการขาดความรับผิดชอบเข้าชั้นเรียนเป็นพฤติกรรมส่วนบุคคลของนักศึกษาที่บางครั้งมาตรการหรือข้อกำหนดในชั้นเรียนไม่สามารถเป็นแรงจูงใจได้ หรือบางครั้งวิธีการบางวิธีก็ไม่สามารถใช้ได้กับนักศึกษาบางคนหรือบางกลุ่ม ดังนั้นการแก้ไขปัญหาหรือการหาวิธีการปรับปรุงจึงควรทำหรือปรับอยู่ตลอดทุกภาคการศึกษา โดยขึ้นอยู่กับพฤติกรรมของนักศึกษาแต่ละคน