เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว จัดอยู่ในอาณาจักรโพรทิสตา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำแนะนำ : กรุณาคลิกที่ปุ่มด้านบนเพื่อเข้าสู่หน้าหลักของโปรแกรม หรือหากต้องการออกจากโปรแกรม ให้กดปุ่ม Esc.
Advertisements

การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนแดงเพิ่มผลผลิตการเกษตร
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
บรรยากาศ.
การย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
หน่วยของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยหน่วยย่อยเล็กๆเรียกว่า เซลล์ 1.สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์ 2.สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น.
กำเนิดเซลล์โปรคาริโอต
การรักษาสมดุลร่างกาย Homeostasis
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
ผลจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
สิ่งแวดล้อมรอบตัว.
โพรโทซัว( Protozoa ).
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
การจัดระบบในร่างกาย.
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
อาณาจักร Protista -เป็น eukarytote กลุ่มแรกที่วิวัฒนาการมาจาก
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 2
Trichomonas vaginalis
หนอนพยาธิ (Helminth).
whey เวย์ : casein เคซีน
ทำไมต้องนมแม่ วาสนา งามการ.
DNA สำคัญอย่างไร.
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
ระบบนิเวศสิ่งแวดล้อม
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ดร. บัณฑิตย์ เต็งเจริญกุล
KINGDOM FUNGI เซลล์มีหลายนิวเคลียส (coenocytic, multinucleate)
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
เชื้อรา แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส สาหร่าย
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
การสืบพันธุ์ของมนุษย์ เป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
กำมะถัน (Sulfur).
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เรื่อง ประโยชน์ต่อสุขภาพ ของใบบัวบก
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 44/2554 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบาย น้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
อาณาจักรรา (Kingdom Fungi)
ระบบขับถ่าย กับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
* นมพาสเจอร์ไรส์ : นมที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อน เพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคให้อยู่ในระดับที่ ปลอดภัย ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ โดยใช้ความร้อนที่
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
เชื้ออะโกรแบคทีเรียม
น้ำ.
การรักษาสมดุลร่างกาย (Homeostasis)
Kingdom Plantae.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว จัดอยู่ในอาณาจักรโพรทิสตา โพรโทซัว ( Protozoa) เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว จัดอยู่ในอาณาจักรโพรทิสตา ( Kingdom Protista)

ที่อยู่อาศัยของโพรโทซัว น้ำจืด น้ำเค็ม ดิน และในร่างกายของสิ่งมีชีวิตอื่น

ความสัมพันธ์ระหว่างโพรโทซัวกับสิ่งมีชีวิตอื่น ภาวะที่ต้องพึ่งพา ( Mutualism ) ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต 2 ฝ่าย โดยทั้ง 2 ฝ่ายต่างได้ประโยชน์ร่วม กัน แต่แยกกันไม่ได้ จะเกิดผลเสีย เป็นสถานการณ์ผูกมัดประจำ สัมผัสกันตลอด

ภาวะที่ต้องพึ่งพา ( Mutualism ) เช่น โพรโทซัว Trichonympha ใน ลำไส้ปลวก Bacteria E. coil ในลำไส้คน Bacteria Rhizobium บริเวณ ปมรากตระกูลถั่ว Bacteria และ Protozoa ในกระเพาะวัว-ควาย Lichen กับ สาหร่าย

นิเวศวิทยาของโพรโทซัว อุณหภูมิ แสง ความเข้มข้นของไฮโดรเจนไอออน

อุณหภูมิ โพรโทซัวส่วนใหญ่มีอุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ในระหว่าง 16 ถึง 25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดที่อาจทนได้อยู่ในระหว่าง 36 ถึง 40 องศาเซลเซียส ที่อุณหภูมิต่ำสุดนั้นทำให้เกิดความเสียหายน้อยมาก

แสง โพรโทซัวพวกซึ่งกินจุลินทรีย์ที่สังเคราะห์แสงได้เป็นอาหารโดยทางอ้อม เพื่อที่ตนเองจะได้รับอาหาร

ความเข้มข้นของไฮโดรเจนไอออน โปรโตซัวบางชนิดสามารถทนทานต่อพีเอช (pH) ได้มากพีเอช 3.2 ถึง 8.7 พีเอชซึ่งเหมาะสมต่อกิจกรรมทางเมตาโบลิซึ่งสูงสุดของโปรโตซัวส่วนใหญ่อยู่ในระหว่าง 6.0 ถึง 8.0

อวัยวะในการเคลื่อนที่ของโพรโทซัว ได้แก่ ซูโตโพเดียม (Pseudopodium) แฟลกเจลลา (Flagella) ซีเลีย (Cilia)

ขบวนการสืบพันธุ์ของโปรโตซัว การสืบพันธ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction)

การสืบพันธ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) การแบ่งตัวจาก 1 เป็น 2 (Bimary fission) การแบ่งตัวแบบทวีคูณ (Multiple fission) การแตกหน่อ (Budding)

การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction)