LAB # 2 : FLOW IN PIPE Section 6

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
Advertisements

ชื่อโครงงาน : การอนุรักษ์พลังงานของระบบควบคุมแรงดันน้ำ Inside Outside
MTT 651: Polymer Rheology Polymer PROcessing and Flow (P-PROF) Group
Flow Through a Venturi September 8th, 2009.
บทที่ 5 ระบบการป้องกันไฟไหม้และระเบิด
การตกกระแทกและการเสียหายเชิงกล
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
โดย นายมนชิต วชิรพรพงศา และ นายสรณัย จันทรโยธา
Air Condition Efficiency Meter เครื่องวัดประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศ
โครงการจัดทำข้อมูลผ่านเว็บไซต์
CONTROL VALVE LEAKAGE TEST INSPECTION
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
Laboratory in Physical Chemistry II
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
ในวันหนึ่งๆสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
พลศาสตร์ในของไหล สมการการต่อเนื่อง สมการแบร์นูลลี การไหลที่มีความหนืด
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I
ME Exp/Lab 1, Section 8, year 2009
แผ่นดินไหว.
คุณสมบัติของคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว (Hardened Concrete)
Basic wave theory.
การลดความชื้นในโรงพยาบาลทันตกรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร
Rheology and its application.
ว ความหนืด (Viscosity)
งานและพลังงาน (Work and Energy).
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าพลังน้ำ
ตำแหน่งติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำที่เหมาะสม
Lab 14: Unconfined Compression Test
Soil Mechanics Laboratory
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
Combined Cycle Power Plant
คณะคุรุศาสตร์อุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม
Vibration of Torsional Disks
Power measurement Air compressor.
Centrifugal Pump.
Flow In Pipe.
การเสนอโครงการวิจัย.
ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย(Energy Balance)
วิชา ว ฟิสิกส์ 3 สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
ระเบียบกรมสรรพสามิต ว่าด้วยวิธีการคำนวณปริมาณน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน โดยใช้มาตรวัดและเครื่องทดสอบ (ฉบับที่ 2) พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
หลักการประหยัดพลังงาน และเครื่องมือวัดการใช้พลังงาน
ความมั่นคงด้านการจัดหาปิโตรเลียมและ
โครงการเขื่อนคลองท่าด่าน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
เรื่องอากาศอยู่ที่ไหน
Processor Quality Control (การควบคุมคุณภาพการล้างฟิล์ม)
การทำฟลูอิดไดเซชันด้วยก๊าซ
ENERGY SAVING BY HEAT PUMP.
กิจกรรมชุดที่ 10 รู้จักแรงเสียดทาน.
“เทคโนโลยีดีเซลอีซูซุ” เครื่องยนต์รุ่น 4JJ1-TC ซูเปอร์คอมมอนเรล
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
เรามาทำ ความรู้จัก กันเลย ระยะทางระหว่างจุด 2 จุด ระยะทาง ( distance ) หมายถึง วัตถุแต่ละอย่าง อยู่ห่างกันเท่าไรในช่วงเวลาหนึ่ง ในทางคณิตศาสตร์
งานวิจัย (Thesis Project)
จุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
แรงในชีวิตประจำวัน.
กลศาสตร์ของไหล Fluid Mechanics
Elements of Liquid-Level System
วก. 300 ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 1
เมื่อออกแรงผลักวัตถุ แล้วปล่อยให้วัตถุไถลไปตามพื้นราบในแนวระดับ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

LAB # 2 : FLOW IN PIPE Section 6 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I LAB # 2 : FLOW IN PIPE Section 6 Members 1 503 03683 21 นาย พิชชากร วัชรานุรักษ์ 2 503 04334 21 นาย มารวย อนันต์สุขเกษม 3 503 04340 21 นางสาว มาริษา ปรีชาสุข 4 503 04517 21 นางสาว สิภาลักษณ์ ตั้งเจริญสุขจีระ 5 503 04598 21 นางสาว รัมภา ชัยจินดา Third Year, Semester 1, year 2009, ME Chula

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I Introduction การไหลภายในท่อ สามารถพบได้ทั่วไปในงานทางด้านวิศวกรรม ซึ่งถูกใช้ในการส่งถ่ายของไหลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เช่น การส่งน้ำประปาผ่านท่อไปใช้ในแหล่งชุมชน การขนส่งน้ำมันดิบผ่านท่อไปยังโรงกลั่น การส่งอากาศจากเครื่องปรับอากาศผ่านท่อไปยังส่วนต่างๆภายในอาคาร งานทางวิศวกรรมด้านอื่นๆ แรงเสียดทานในการไหลในท่อ เปลี่ยนพลังงานกลไปเป็นพลังงานความร้อน ก่อให้เกิดการสูญเสียพลังงาน LABORATORY No. 2 : Flow In Pipe : Section 6

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I Motivation ความเสียดทานของของไหลในการไหล ทำให้เกิดการสูญเสียของพลังงานทางกล ( Mechanical energy loss ) โดยที่ การไหลของระบบอยู่ภายใต้เงื่อนไขคงตัว (Steady condition) พลังงานที่ให้ของไหลเกิดจาก pump ( หรือ compressor ) ซึ่งขึ้นอยู่กับ Mechanical energy loss ดังนั้น การสูญเสียพลังงานกลของของไหลจึงเป็นสิ่งที่สำคัญในการออกแบบระบบท่อ LABORATORY No. 2 : Flow In Pipe : Section 6

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I Objectives อัตราการสูญเสียพลังงานกล (mechanical power loss) กับ อัตราการไหล (Flow rate) Related Dimensionless ความดัน (Static pressure) กับตำแหน่งตามแนวการไหล friction factor กับReynolds number LABORATORY No. 2 : Flow In Pipe : Section 6

Experiment Background 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I Experiment Background 1 2 Conservation of Energy Equation Assumptions 1.Steady-state 2.Incompressible flow 3.Fully-developed flow 4.Neglect minor losses 5.No changes in elevation Mechanical Energy Pressure Energy Kinetic Energy Potential Energy LABORATORY No. 2 : Flow In Pipe : Section 6

Experiment Background 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I Experiment Background 2 1 LABORATORY No. 2 : Flow In Pipe : Section 6

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I Experiment Setup Flow Disturbance Pressure Tab Flow Speculator Oil Reservoir Rotameter Pressure Transducer Setting Chamber Test Pipe Valve Pump Pipe Flow Apparatus Description: Convert & display unit of static pressure measured from pressure tab Storage of oil - fluid in pipe flow apparatus Determining the characteristic of flow by observation The system interested Imparts power (from motor) to fluid Flow rate measurement Measurement of static pressure Initially configuration of inlet flow Adjusting the desirable flow rate Turbulant triggering LABORATORY No. 2 : Flow In Pipe : Section 6

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I Experiment Setup อุปกรณ์ทดสอบการไหลในท่อ (Pipe flow Apparatus) ของไหลที่ใช้ทดสอบ : น้ำมัน ทำการวัดระยะเพื่อกำหนดตำแหน่งของ pressure tab ทั้ง 18 ตำแหน่ง ตลับเมตร หาค่าความหนืด (Viscosity) กำหนดรูปแบบการไหลที่สนใจ (Laminar or Turbulent flow) ด้วยแท่ง disturbance กำหนดอัตราการไหลที่สนใจ 5 ค่า อ่านค่าความดันสถิตย์แต่ละตำแหน่ง pressure tab หาค่าความถ่วงจำเพาะ (Specific Gravity) สังเกตการไหลของน้ำมันที่ออกจากท่อ Rotameter Pressure Transducer ข้อมูลเก่า ปี 2550 Hydrometer วิเคราะห์ผลการทดลอง และสรุปผลการทดลอง LABORATORY No. 2 : Flow In Pipe : Section 6

Experiment condition อัตราการไหล : อยู่ในช่วง 30 - 70 l/min 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I Experiment condition อัตราการไหล : อยู่ในช่วง 30 - 70 l/min รูปแบบการไหล Laminar flow ไม่มีการดัน flow disturbance Turbulent flow มีการดัน flow disturbance Reynolds number Laminar flow : 1900 ≤ ReD ≤ 4400 Turbulent flow : 3100 ≤ ReD ≤ 4400 LABORATORY No. 2 : Flow In Pipe : Section 6

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I Experiment Result กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความดัน (Static pressure) กับตำแหน่งตามแนวการไหล กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการสูญเสียพลังงานกล ( mechanical Energy loss) กับ อัตราการไหล ( Flow rate ) กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง friction factor กับ Reynolds number LABORATORY No. 2 : Flow In Pipe : Section 6

Pressure vs Distance for Laminar Flow Larminar flow, Q = 70L/min

Pressure vs Distance Turbulent flow, Q = 70L/min Larminar flow, Q = 70L/min

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I (1 liter/s) LABORATORY No. 2 : Flow In Pipe : Section 6

วิเคราะห์ Velocity profile 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I Discussion วิเคราะห์ Velocity profile ที่อัตราการไหลต่ำๆ หรือReynolds numberต่ำๆ นั้น ถึงแม้ว่าจะดัน flow disturber เข้าไปสุดแล้วก็ตาม flowที่ออกจากปลายท่อก็ยังคงเป็น Laminar อยู่ LABORATORY No. 2 : Flow In Pipe : Section 6

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I Conclusion ความดันจะมีค่าลดลงเมื่อระยะทางตามแนวการไหลเพิ่มมากขึ้น อัตราการไหลที่สูงกว่าจะมีค่าความดันลดลงตามแนวการไหลมากกว่า การไหลแบบ Turbulent จะมีค่าความดันลดลงตามแนวการไหลสูงกว่าการไหลแบบ Laminar อัตราการสูญเสียพลังงานกลมีค่าสูงขึ้นตามอัตราการไหลที่มากขึ้น การไหลแบบ Turbulent จะมีอัตราการสูญเสียพลังงานกลมากกว่าการไหลแบบ Laminar ค่า Friction factor จะมีค่าลดลงเมื่อ Reynolds number มากขึ้นหรือมีอัตราการไหลมากขึ้น ที่อัตราการไหลเท่ากัน การไหลแบบTurbulent จะมีค่า Friction factor หรืออัตราการสูญเสียพลังงานกลสูงกว่าการไหลแบบ Laminar LABORATORY No. 2 : Flow In Pipe : Section 6