งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วก. 300 ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วก. 300 ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 1"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วก. 300 ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 1
คำแนะนำก่อนการทดลอง

2 1. บทนำ

3 วัตถุประสงค์ เพื่อเสริมความเข้าใจในเนื้อหาของวิชาบรรยาย
และสร้างเสริมประสบการณ์ในการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือ การทดลองต่างๆได้ถูกออกแบบมาเพื่อให้เสริมกับวิชาบรรยายในสาย กลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ความร้อน กลศาสตร์ของแข็ง จลนศาสตร์

4 การทดลอง Intro Lab 1 Lab 2 Lab 3 Lab 4 Lab 5 Lab 6 Lab 7 Lab 8 Lab 9
No. ผู้สอน ชื่อการทดลอง สถานที่ Intro รศ.ดร. ดุลยโชติ ชลศึกษ์ แนะนำวิชา ห้อง 201 อาคารปฏิบัติการฯ Lab 1 ผศ.ดร.ชาญณรงค์ อัศวเทศานุภาพ การสูญเสียในท่อ ห้อง 205 อาคารปฏิบัติการฯ Lab 2 ผศ.เกียรติขจร สุเวทเวทิน ปั๊มแรงเหวี่ยง ชั้น 1 อาคารปฏิบัติการฯ Lab 3 ศ.ดร. สมชาติ ฉันทศิริวรรณ เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน ห้อง 206 อาคารปฏิบัติการฯ Lab 4 ผศ.ดร.สมศักดิ์ วงษ์ประดับไชย การวัดอุณหภูมิ Lab 5 ผศ.ดร.ฉัตรชัย มานะดี การวัดความเครียด ห้อง 207 อาคารปฏิบัติการฯ Lab 6 รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย การทดสอบแรงดึง ห้อง 308 ชั้น 3 อาคารวิจัยฯ Lab 7 รศ.ดร.ธีร์ เจียศิริพงษ์กุล แรงสู่ศูนย์กลาง ห้อง 203 อาคารปฏิบัติการฯ Lab 8 อ.ดร.จิรประภา กิมสุนทร ไจโรสโคป ห้อง อาคารปฏิบัติการฯ Lab 9 ครูช่าง การเชื่อมไฟฟ้า Lab 10 การกลึง

5 Lab 1 การสูญเสียในท่อ FLUID MECHANICS Lab 1
ESSOM HF135C Flow in pipe and flow measurement Lab 1 ผศ.ดร.ชาญณรงค์ อัศวเทศานุภาพ การสูญเสียในท่อ ห้อง 205 อาคารปฏิบัติการฯ

6 Lab 2 ปั๊มแรงเหวี่ยง FLUID MECHANICS Lab 2
ESSOM Centrifugal Pump Test Set Lab 2 ผศ.เกียรติขจร สุเวทเวทิน ปั๊มแรงเหวี่ยง ชั้น 1 อาคารปฏิบัติการฯ

7 Lab 3 เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน
THERMODYNAMICS/ HEAT TRANSFER ESSOM TH211 or TH221 Shell and Tube heat Exchanger Lab 3 ศ.ดร. สมชาติ ฉันทศิริวรรณ เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน ห้อง 206 อาคารปฏิบัติการฯ

8 Lab 4 การวัดอุณหภูมิ THERMODYNAMICS/ HEAT TRANSFER Lab 4
Armfield TH1 Temperature measurement Lab 4 ผศ.ดร.สมศักดิ์ วงษ์ประดับไชย การวัดอุณหภูมิ ห้อง 201 อาคารปฏิบัติการฯ

9 Lab 5 การวัดความเครียด SOLID MECHANICS Lab 5 ผศ.ดร.ฉัตรชัย มานะดี
ห้อง 207 อาคารปฏิบัติการฯ

10 Lab 6 การทดสอบแรงดึง SOLID MECHANICS Lab 6 รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย
Instron Universal Testing Machine Lab 6 รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย การทดสอบแรงดึง ห้อง 308 ชั้น 3 อาคารวิจัยฯ

11 Lab 7 แรงสู่ศูนย์กลาง DYNAMICS Lab 7 รศ.ดร.ธีร์ เจียศิริพงษ์กุล
Cussons P2799 Centripetal Force Apparatus Lab 7 รศ.ดร.ธีร์ เจียศิริพงษ์กุล แรงสู่ศูนย์กลาง ห้อง 203 อาคารปฏิบัติการฯ

12 Lab 8 ไจโรสโคป DYNAMICS Lab 8 อ.ดร.จิรประภา กิมสุนทร ไจโรสโคป
Cussons P5377 Electrical Gyroscope Lab 8 อ.ดร.จิรประภา กิมสุนทร ไจโรสโคป ห้อง อาคารปฏิบัติการฯ

13 Lab 9 การเชื่อมไฟฟ้า อันตราย Workshop practice Lab 9 ครูช่าง
ชั้น 1 อาคารปฏิบัติการฯ

14 Lab 10 การกลึง อันตราย Workshop practice Lab 10 ครูช่าง การกลึง
ชั้น 1 อาคารปฏิบัติการฯ

15 การให้คะแนน พฤติกรรมการทำปฏิบัติการ 30 รายงาน สอบปลายภาค 30

16 ข้อปฏิบัติ 1. การตรงต่อเวลา นักศึกษาที่มาสายเกิน 15 นาที จะไม่ได้คะแนนปฏิบัติการ 2. การแต่งกาย ให้ใส่ชุดปฏิบัติการ รองเท้าหุ้มส้น และ เก็บผมให้รัดกุม 3. เตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็นมาด้วย เช่นเครื่องคิดเลข ไม้บรรทัด กระดาษกราฟ และ กล้องถ่ายรูป 4. ปฏิบัติตามคำแนะนำของอาจารย์และเจ้าหน้าที่ผู้ควบคุมปฏิบัติการอย่างเคร่งครัด 5. คำนึงถึงความปลอดภัยเป็นลำดับแรก 6. สังเกตและจดบันทึกเหตุการณ์ต่างๆระหว่างทำการทดลอง 7. เมื่อทำการทดลองแล้วเสร็จ ให้ทำความสะอาดพื้นที่ให้เรียบร้อย และเก็บอุปกรณ์ต่างๆกลับเข้าที่

17 2. ความปลอดภัย

18 ข้อควรคำนึงด้านความปลอดภัย
การทดลอง ชนิดของอันตรายที่จะพบในวิชานี้ ข้อควรระวัง และอุปกรณ์ป้องกันเบื้องต้น สะเก็ดชิ้นส่วน เกี่ยว หนีบ ม้วน ดึง ของมีคม ของแข็งตกใส่เท้า แรงดันจากของไหล ความร้อน ไฟฟ้า แสงจ้า สะเก็ดไฟ เสียงดัง ควัน กลิ่น สารเคมี Lab 1 การสูญเสียในท่อ x ระวังไฟดูด Lab 2 ปั๊มแรงเหวี่ยง Lab 3 เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน ระวังชิ้นส่วนร้อน Lab 4 การวัดอุณหภูมิ ระวังน้ำร้อน และไฟดูด Lab 5 การวัดความเครียด Lab 6 การทดสอบแรงดึง ระวังชิ้นส่วนกระเด็น Lab 7 แรงสู่ศูนย์กลาง ระวังชิ้นส่วนกระเด็น และไฟดูด Lab 8 ไจโรสโคป Lab 9 การเชื่อมไฟฟ้า หน้ากากเชื่อมกรองแสง ถุงมือเชื่อม ชุดเชื่อม (รองเท้านิรภัย) Lab 10 การกลึง เก็บผม ระวังเศษกลึงร้อนและคม ใส่แว่นตานิรภัย (รองเท้านิรภัย)

19 อันตรายจากเครื่องจักร
การเกี่ยว ดึง หนีบ ชิ้นส่วนที่กระเด็น บาดเจ็บ พิการ เสียชีวิต ทำงานอย่างมีสมาธิ แต่งตัวให้รัดกุม ระวังชายเสื้อ, ปลายผม ใช้อุปกรณ์ป้องกัน เช่น แว่นนิรภัย อย่าอยู่ในแนวแรงเหวี่ยง

20 การป้องกันเบื้องต้นคือ
อันตรายจากไฟฟ้า ไฟช๊อต = ลัดวงจร  ความร้อน ไฟดูด = กระแสไหลผ่านอวัยวะ  บาดเจ็บ/เสียชีวิต ความรุนแรงขึ้นกับ ปริมาณกระแส ระยะเวลา และ เส้นทางของ กระแส การป้องกันเบื้องต้นคือ ใส่รองเท้าพื้นยาง ไม่ยืนบนพื้นเปียก ไม่สัมผัสกับชิ้นส่วนโลหะโดยไม่จำเป็น

21 อันตรายจากความร้อน โลหะร้อน ไม่สามรถเห็นด้วยตาเปล่า
อุณหภูมิผิวมากกว่า 50C เริ่มทำให้ผิวหนังบาดเจ็บได้ ระวังอย่าเอามือจับไปทั่ว

22 อันตรายอื่นๆอีกมากมาย ถ้าไม่ระวัง
เช่น แสง ทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็น สะเก็ดไฟ ควันเข้าตา ใบหินเจียรหลุด จับชิ้นงานไม่แน่นเวลาเจาะ ฯลฯ

23 การเกิดเพลิงใหม้ อาคารปฎิบัติการมีการแยกเก็บวัตถุไวไฟไว้ในโซนยานยนต์ ซึ่งปลอดภัยจาก การเกิดประกายไฟ ภายในอาคารมีการติดตั้งถังดับเพลิงไว้ตามจุดต่างๆและมีทางออกดังภาพถัดไป อย่างไรก็ตามในกรณีที่พบว่าเกิดเพลิงไหม้ ให้นักศึกษาแจ้งเจ้าหน้าที่ผู้ควบคุม และออกจากตัวอาคารทันที

24 You are here 1st FL 2nd FL

25 3. การทดลองและการรายงานผล

26 ความสำคัญและขั้นตอนของการทดลอง
การทดลองคือจำลองปรากฏการณ์จริงภายได้สภาพแวดล้อมที่ควบคุมได้ ทำการวัดข้อมูลที่ต้องการด้วยเครื่องมือและวิธีการที่เหมาะสม นำข้อมูลที่ได้มาตีความเพื่อนำผลลัพธ์ของการทดลองไปใช้ประโยชน์

27 ขั้นตอนของการทดลอง วางแผนในภาพรวม กำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขต ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ออกแบบการทดลอง กำหนดข้อมูลต้องการวัด กำหนดค่าที่ต้องควบคุม กำหนดความแม่นยำที่ต้องการ ออกแบบวิธีการเก็บข้อมูล กำหนดเครื่องมือจะต้องใช้ เตรียมการทดลอง สร้างชุดทดลอง จัดหาเครื่องมือ วัตถุดิบ หรือ จัดเตรียมชิ้นทดสอบ และติดตั้งอุปกรณ์วัดต่างๆ ดำเนินการทดลองและเก็บข้อมูล วิเคราะห์ผลการทดลอง เสนอผลการทดลองในรูปของรายงานที่ได้มาตรฐานสากล

28 การเก็บข้อมูลจากการทดลอง
ควรคำนึงถึง ความไม่แน่นอนจากตัวเครื่องมือวัดเอง ความผิดพลาดจากการใช้เครื่องมือวัดไม่ถูกวิธี ความผิดพลาดในขั้นตอนการเก็บข้อมูล

29 เลขนัยสำคัญ 45.1 451 451.0 451,000 4.51 x 105 4.510 x 105

30 การบันทึกด้วยเลขนัยสำคัญ
2 3 4 3.1 2 3 4 3.15 2 3 4 x 103 3.15 x 103

31 สิ่งที่ต้องดำเนินการหลังจากการทดลองแล้วเสร็จ
การแปรรูปข้อมูล ค่าที่อ่านจากเครื่องมือวัดสามตัวคือ a = 3.15 b = และ c = โดยผลการทดลองคือ d = a.b + c = ควรทำการปัดเศษโดยใช้นัยสำคัญของ a (3 หลัก) และนำเสนอด้วย d = 182

32 การนำเสนอผลการทดลอง กราฟ ควรใช้เลือกเป็นลำดับแรก

33 ตัวอย่างกราฟเส้นตรงที่ดี

34 ตัวอย่างกราฟเส้นตรงที่ไม่ดี

35 ตัวอย่างการใช้ semi-log scale
y = a ebx

36 ตัวอย่างการใช้ log-log scale

37 การอภิปรายผลการทดลอง
ทำการอภิปรายในประเด็นหลัก ตามวัตถุประสงค์ของการทดลอง การสังเกตแนวโน้มของกราฟ (ถ้ามี) การวิเคราะห์เชิงสถิติ รวมถึงการทำนายความสัมพันธ์โดยการฟิตสมการเข้ากับชุดข้อมูล (ถ้ามี) การเปรียบเทียบกับค่าที่ทำนายจากทฤษฎี ในลักษณะของกราฟ หรือตัวเลขเปอร์เซ็นต์ความแตกต่าง การวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของปรากฏการณ์ที่สังเกตได้หรือบันทึกภาพได้ การตรวจสอบและวิเคราะห์หาสาเหตุของความผิดพลาดของผลการทดลอง

38 การสรุปผลการทดลอง สรุปและข้อเสนอแนะ สรุปจากข้อมูลที่อภิปรายไว้ สิ่งที่ค้นพบ ประโยชน์ที่ได้ ความผิดพลาดที่เกิดขึ้น และข้อเสนอแนะในการปรับปรุง หากการทดลองใดมีคำถามท้ายการทดลอง ให้ตอบคำถามต่อจากบทสรุป

39 การส่งรายงาน รายงาน เขียนด้วยมือลงในแบบฟอร์มรายงาน ให้นักศึกษาทุกคนสรุปบันทึกคำบรรยาย บันทึกผลการทดลอง และให้อาจารย์ผู้ควบคุมปฏิบัติการลงนามรับรองภายในชั่วโมงปฏิบัติการ จากนั้นนำรายงานที่สมบูรณ์พร้อมแนบเอกสารที่จำเป็น ส่งให้เจ้าหน้าที่ช่างเทคนิค ประทับวันที่รับ ภายวันทำการถัดไป (เว้นแต่อาจารย์ผู้สอนแต่ละท่านจะกำหนดเป็นวันอื่น) การลอกรายงาน ถือเป็นความผิดร้ายแรงอันสะท้อนถึงความไม่ซึ่อสัตย์ ผิดจรรยากรรณของวิศวกร ดังนั้นนักศึกษาที่เกี่ยวข้องจะได้รับ เกรด F

40 แบบฟอร์มรายงาน

41 ถาม-ตอบ


ดาวน์โหลด ppt วก. 300 ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google