Situation of Asbestos Use in Thailand By Dr.Kamjad Ramakul Bureau of Occupational and Environmental Disease
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับแร่ใยหิน
ประโยชน์ของแร่ใยหิน ประโยชน์ คือ แร่ใยหินมีคุณสมบัติพิเศษ คือ มีความเหนียว ทนทานต่อแรงดึงได้สูง ทนความร้อนได้ดี และมีความทนทานต่อกรด ด่าง และสารเคมีหลายชนิด นำแร่ใยหินมาใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ฉนวนกันความร้อน กระเบื้องมุงหลังคา หรือท่อน้ำกันความร้อน กระเบื้องยาง ปูพื้น เบรค และคลัทช์
โทษของแร่ใยหิน โทษ คือ ก่อให้เกิดโรคแอสเบสโตสิส มะเร็งปอด และมะเร็งเยื่อหุ้มปอด และเยื่อบุช่องท้อง ปัญหาที่เกิดจากแร่ใยหินนี้มิใช่เป็นเพียงปัญหาสุขภาพของลูกจ้างภายในสถานประกอบกิจการเท่านั้น แต่ยังเป็นปัญหาของสังคมและประชาชนทั่วไปด้วย องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ได้เตือนภัยว่าทุกปีทั่วโลกจะมีคนประมาณ 100,000 คน เสียชีวิตเนื่องจากโรคจากการทำงานกับแร่ใยหิน การประชุมใหญ่ของ ILO มีมติให้ประเทศสมาชิกต่างๆ ขจัดการใช้แร่ใยหิน และส่งเสริม ช่วยเหลือ ประเทศสมาชิกอื่นๆ ให้บรรจุมาตรการต่างๆ ไว้ในแผนงานความปลอดภัยเพื่อการคุ้มครองคนทำงาน
สถานการณ์การใช้แร่ใยหินของต่างประเทศ ปัจจุบัน EPA (Environmental Protection Agency) CPSC (Consumer Product Safety Commission) และประเทศต่างๆ ทั่วโลกกว่า 40 ประเทศ ได้หลีกเลี่ยงการใช้แร่ใยหิน และห้ามการใช้แร่ใยหินดังกล่าว ประเทศที่มีการห้ามใช้แร่ใยหินแล้ว ส่วนใหญ่จะเป็นประเทศในแถบยุโรป เช่น อังกฤษ ออสเตเรีย ฝรั่งเศส สวีเดน นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ เยอรมัน เบลเยี่ยม ลักเซมเบอร์ก ฯลฯ และประเทศที่พัฒนาแล้วใน แถบเอเชีย เช่น ญี่ปุ่น
ประเทศที่ Ban แร่ใยหิน (National Asbestos Bans) Revised 26,June 2007 Compiled by Laurie Kazan-Allen Kuwait Latvia Lithuania* Luxembourg Malta* Netherlands Norway Poland Portugal* Saudi Arabia Seychelles Slovakia* Slovenia Spain Sweden Switzerland United Kingdom ( including England, Scotland, Wales and Northern Ireland) Uruguay Argentina Australia Austria Belgium Chile Cyprus* Czech Republic* Denmark Estonia* Finland France Gabon Germany Greece* Honduras Hungary* Iceland Ireland Italy Japan: Major restrictions on asbestos use were introduced in October, 2004. Total ban announced in 2008 Not yet implemented
Asbestos consumption tons kg/capita/year tons kg/capita/year Russia 447 000 3.1 Iran 20 000 0.3 China 410 000 0.4 Turkey 19 500 0.3 Brazil 182 000 1.2 Malaysia 18 000 0.8 India 125 000 0.1 Kyrgyzstan 17 300 3.7 Thailand 121 000 1.5 Spain 15 400 0.4 Japan 98 600 0.8 United States 15 000 0.1 Vietnam 62 500 0.8 South Africa 12 500 0.3 Ukraine 60 000 1.2 Nigeria 12 500 0.1 Indonesia 54 900 0.3 Colombia 12 200 0.3 Kazakhstan 32 400 2.2 Romania 10 200 0.4 South Korea 29 000 0.6 Zimbabwe 10 000 0.8 Mexico 27 000 0.3 Canada 4 800 0.1 Belorussia 25 200 2.5 Others 200 000 0.1 WORLD 2 042 000 Source: US Geological Survey
สถานการณ์การใช้แร่ใยหินของประเทศไทย - ยังไม่มีการห้ามการใช้แร่ใยหิน - มีการใช้แร่ใยหินมากเป็น อันดับ 3 ในแถบเอเชีย (อันดับหนึ่ง คือ จีน รองลงมา คือ อินเดีย) และเป็นอันดับ 5 ของโลก (รัสเซีย จีน บราซิล อินเดีย และไทย) - ประเทศไทยมีการนำเข้าแร่ใยหินจากประเทศรัสเซียมากที่สุด รองลงมา คือ บราซิล และแคนาดา
สถิติปริมาณและมูลค่าการนำเข้าแร่ใยหินปี พ.ศ. 2540 – 2550 ปริมาณนำเข้า (กิโลกรัม) มูลค่า (บาท) 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 177,123,729 60,092,992 100,423,242 120,563,168 126,915,184 181,348,064 166,483,431 166,074,690 175,977,285 140,861,289 86,525,014 2,218,312,612 1,055,751,838 1,500,197,468 1,739,966,858 1,784,582,236 2,145,184,221 1,925,153,929 1,799,637,887 2,029,889,440 1,709,802,109 920,729,882
ปริมาณการนำเข้าแร่ใยหินของประเทศไทย กิโลกรัม
สัดส่วนของการใช้แร่ใยหิน 90 % ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตประเภทซีเมนต์ กระเบื้อง มุงหลังคา ท่อระบายน้ำ - 8% ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตผ้าเบรก คลัตช์ - 2% ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตกระเบื้องปูพื้นไวนิล และอุปกรณ์ป้องกันความร้อนต่างๆ
Observed and Estimated Mesothelioma Mortality in the U.K. Asbestos Consumption Mesothelioma Mortality 2006 EEA, Late Lessons from Early Warnings: The Precautionary Principle 1896-2000, 2001
แนวโน้มปัญหาในอนาคต หากประเทศไทยยังไม่มีการออกมาตรการใดๆ เพื่อกำจัดหรือป้องกันความเสี่ยงอันตรายดังกล่าว ในอนาคตรัฐบาลไทยอาจถูกผู้เสียหายจากการสูดแร่ใยหินฟ้องร้องและต้องชดใช้ค่าเสียหายในฐานที่ละเลยหรือล่าช้าในการป้องกันความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพของคนงานที่ได้รับจากการสูดดมแร่ใยหินได้ ดังเช่นประเทศฝรั่งเศส อนาคต คาดการณ์ว่าหากประเทศไทยยังไม่มีการเลิกใช้แร่ใยหินในอีก 25-30 ปี ข้างหน้า จะพบผู้ป่วยด้วยโรคนี้ประมาณ 1,137 คน / ปี รัฐบาลไทยมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีแนวทาง/มาตรการในการจัดการการใช้แร่ใยหินในประเทศไทยอย่างเร่งด่วน เพื่อป้องกันปัญหาต่างๆที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ตามหลักการที่ 15 ในเรื่องการป้องกันไว้ก่อน (The Precautionary principle) ของปฏิญญาสากลริโอ
The End