ระบบโปรแกรมบันทึกและประมวลผลข้อมูล จปฐ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์
Advertisements

ชุมชนน้ำด้วน 1 ร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
KM Learning Power ครั้งที่ 1
สหกิจศึกษาทางรัฐศาสตร์
การบูรณาการคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต เพื่อการเรียนการสอน
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
Management Information Systems
โปรแกรมการทดสอบวัดความสามารถพื้นฐาน ทางการเรียนของนักศึกษา
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
Data On Web 2552 ศูนย์ปฏิบัติการ สพฐ. ศูนย์ปฏิบัติการ สพฐ
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
ตัวชี้วัด :3.2 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่อง ร้องเรียนจากประชาชน / ผู้รับบริการ โดย กองกลาง สำนักปลัด กรุงเทพมหานคร น้ำหนัก คะแนน : โดยนำผลคะแนนรวมในขั้นตอนที่
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
จังหวัดนครปฐม.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
29 พฤษภาคม ความเป็นมา ตัวชี้วัดที่ 2.1 พีรพร พร้อมเทพ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมส่งเสริม การเกษตร.
กลุ่มที่ 1.
การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน
กลุ่มที่ 3 การทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเขียนข้อเสนอโครงการ
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
เมนู...บันทึกการให้บริการหญิงหลังคลอด
ณ วังรีรีสอร์ท จังหวัดนครนายก 9 พฤศจิกายน – น.
ณ โรงแรมมารวยการ์เด็น ธันวาคม 2555
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การประชุมซักซ้อมการปฏิบัติงาน การเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส. ก
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
โครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ระบบโปรแกรมบันทึกและประมวลผลข้อมูล จปฐ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบโปรแกรมบันทึกและประมวลผลข้อมูล จปฐ. พฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคม 2556 เวลา 15.30 – 17.00 น. โรงแรมมารวยการ์เด้น เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บุญส่ง วัฒนกิจ มหาวิทยาลัยขอนแก่น boonsong@kku.ac.th ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ไชยวัฒน์ รุ่งเรืองศรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ chaiwat.r@cmu.ac.th ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ sakchai.p@psu.ac.th

โปรแกรม จปฐ. เขตชนบท ปี 2557

โปรแกรม จปฐ. เขตเมือง ปี 2557

สำหรับการใช้งานในองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 สำหรับการใช้งานในองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น อบจ. เทศบาล อบต. ข้อมูลที่จัดเก็บมาถือว่า อปท. เป็นเจ้าของร่วม ความคุ้มค่าของการจัดงบประมาณรองรับการจัดเก็บ สร้างรายได้ให้แก่ราษฎรผู้ทำหน้าที่จัดเก็บหรือบันทึกข้อมูลในพื้นที่ มีฐานข้อมูลความจำเป็นพื้นฐานในพื้นที่รับผิดชอบ เสริมกับฐานข้อมูลทางราชการและไม่ใช่ทางราชการอื่นๆ สะท้อนภาพรวมด้านความจำเป็นพื้นฐานของครัวเรือนในพื้นที่ที่รับผิดชอบ กับพื้นที่ในระดับอำเภอ จังหวัด และประเทศ ยกมาตรฐานการบริหารผ่านการใช้ข้อมูลเป็นเครื่องมืออ้างอิง

สำหรับผู้ใช้งานในองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น (ต่อ) อบจ. เทศบาล อบต. โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 สำหรับผู้ใช้งานในองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น (ต่อ) อบจ. เทศบาล อบต. อปท. ใช้ จปฐ. ได้อย่างไรบ้าง แสดงรายงานได้ทันทีที่บันทึกเสร็จ ไม่ต้องรอ จัดพิมพ์ป้ายรายงานตัวชี้วัด (ประยุกต์) ติดตามอาคารและในห้องประชุมที่ทำการ อปท. ป้ายไวนิล ป้ายข้อความ ตัวชี้วัด (ประยุกต์) ติดในที่ที่เปิดเผยในชุมชน สรุปรายงานที่สำคัญๆ ไว้ในเว็บไซท์ของ อปท. จัดสัมมนาในชุมชนถึงประเด็นตัวชี้วัดที่เป็นปัญหาเพื่อระดมสมองแนวทางแก้ไข จัดสัมมนาประเด็นปัญหา จปฐ. ในระดับอำเภอ จังหวัด

สำหรับผู้ใช้งานในองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น (ต่อ) อบจ. เทศบาล อบต. โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 สำหรับผู้ใช้งานในองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น (ต่อ) อบจ. เทศบาล อบต. การใช้ประโยชน์เชิงรูปธรรม ภาพรวม เป็นส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของประชาชน ฟังคำถาม นึกถึงครอบครัวตนเอง โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับสุขภาพ การตอบถูก/ผิด ไม่ใช่สิ่งผิด แต่ได้เรียนรู้ ให้แนวทางการจัดทำโครงการสำหรับให้บริการประชาชน สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการแก้ไขปัญหาในชุมชน ผ่านความสำนึกจากการตอบข้อคำถามในแบบสอบถาม จปฐ.

สำหรับผู้ใช้งานในองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น อบจ. เทศบาล อบต. โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 สำหรับผู้ใช้งานในองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น อบจ. เทศบาล อบต. การใช้ประโยชน์เชิงรูปธรรม (ต่อ) ใช้อ้างอิงเชิงปริมาณในด้านสุขภาพ ที่อยู่อาศัย การศึกษา รายได้ และสวัสดิการสังคม ของครัวเรือนในพื้นที่ เพื่อสนับสนุนความเป็นไปได้ของนโยบายของนายกฯ ที่ได้หาเสียงไว้ สามารถระบุสภาพปัญหาตามลำดับของความเข้มข้นของปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ สามารถระบุความจำเป็นเร่งด่วนในปัญหาแต่ละด้านของความจำเป็นพื้นฐานในพื้นที่ที่รับผิดชอบ

สำหรับผู้ปฏิบัติในระดับตำบล อำเภอ จังหวัด โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 สำหรับผู้ปฏิบัติในระดับตำบล อำเภอ จังหวัด

การปรับโปรแกรม จปฐ. สำหรับปี 2557-59 โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 การปรับโปรแกรม จปฐ. สำหรับปี 2557-59 เมนูหลัก การทำงาน ออกรายงาน ส่วนใหญ่ยังคงเดิม แยกโปรแกรมให้ทำงานเป็น 2 โปรแกรม สำหรับ : ข้อมูลเขตพื้นที่ชนบท BMN-Rural (อบต.) ข้อมูลเขตพื้นที่เมือง BMN-City (เทศบาล) ทั้ง 2 โปรแกรมนี้ติดตั้งในเครื่องเดียวกันได้ เพราะแยก folder จัดเก็บอยู่ใน drive C:

โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 ชื่อฐานข้อมูลใน \Data แยกกันระหว่าง ข้อมูลพื้นที่เขต ชนบท และ ข้อมูลพื้นที่เขตเมือง ระบุความแตกต่างไว้ ดังนี้ BMN-Rural-be.accdb และ BMN-City-be.accdb ปีที่ใช้ login เป็นปีปัจจุบันที่ใช้ ทำงานในเมนู ย่อยทุกเมนู แต่ สามารถเลือกปี ในระหว่างการ ทำงานอีกได้

โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 ปีที่ใช้ login เป็นปีปัจจุบันที่ใช้ ทำงานในเมนู ย่อยทุกเมนู แต่ สามารถเลือกปี ในระหว่างการ ทำงานอีกได้

ตัวหนังสือกลางจอหน้าแรก หลังจาก login ระบุ โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 ตัวหนังสือกลางจอหน้าแรก หลังจาก login ระบุ โปรแกรมสำหรับพื้นที่เขตชนบท หรือเขตเมือง ปีที่ต้องการทำงาน เพื่อเตือนผู้บันทึกเป็นการเฉพาะว่า กำลังจะบันทึกข้อมูลปีใด

โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 รุ่นของโปรแกรม อยู่ในหน้าจอหน้าแรก และในเมนู “เกี่ยวกับ โปรแกรม” เขียนว่า รุ่น BMN-Rural 3.0.0 Build 121213 หรือ รุ่น BMN-City 1.0.0 Build 121213 เพื่อใช้อ้างในกรณีแจ้งปัญหาที่พบ

การ login ทำได้ 4 ระดับ คือ ตำบล อำเภอ จังหวัด และกรมฯ โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 การ login ทำได้ 4 ระดับ คือ ตำบล อำเภอ จังหวัด และกรมฯ

โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 การกระชับข้อมูลในระดับตำบล ทำโดยอัตโนมัติเมื่อเลิก ทำงาน (ระดับอื่น – เลือกกระชับเพราะแฟ้มขนาดใหญ่ ใช้ เวลานาน) ผู้บันทึกต้องสำรองข้อมูลให้บ่อย แฟ้มสำรองทุกครั้งใช้ชื่อ ต่างกันตามเวลาที่สำรอง เช่น จปฐ57ชนบท-บ้าน-04ม่วงงาม-16-11-2556-17-12-51-ผู้บันทึก.accdb

แฟ้มที่นำเข้าจะถือว่าเป็นพื้นที่ที่โปรแกรมกำลังใช้งาน โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 ไม่สามารถก๊อบปี้แฟ้มฐานข้อมูลปี 2555, 2556 มาวาง ทับในโฟลเดอร์ \Data เพราะโครงสร้างฐานข้อมูลปี 2557 ไม่เหมือนเดิม แต่สามารถทำผ่านเมนู “นำเข้า” มา เพื่อใช้ทำงานโปรแกรมใหม่นี้ได้ แฟ้มที่นำเข้าจะถือว่าเป็นพื้นที่ที่โปรแกรมกำลังใช้งาน โปรแกรมเขตชนบท แฟ้มนำเข้าถือว่าเป็นชนบท โปรแกรมเขตเมือง แฟ้มนำเข้าถือว่าเป็นเมืองทั้งหมด ต้องลบพื้นที่ที่ปนกันในแฟ้มออกด้วยมือก่อนการ นำเข้า เหตุผล ก่อนหน้านี้โปรแกรมไม่มีการแยกพื้นที่

เลือกทำงานได้เป็นปีๆ ไป ทำพร้อมกันหลายปีไม่ได้ โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 เลือกทำงานได้เป็นปีๆ ไป ทำพร้อมกันหลายปีไม่ได้ เช่น อยากออกรายงานปี 2556 ให้แสดงร่วมกับ 2557 ไม่ได้ ต้องออกรายงานปี 2556 ครั้งหนึ่ง และไปทำ 2557 อีก ครั้งหนึ่ง แล้วนำผล 2 ปีนั้นมาทำเป็นตารางรวมด้วยมือ เอง

รวมรายได้ข้อ 23.1 ถ้า = 0 จะทำต่อไปไม่ได้ โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 ปรับปรุงการบันทึก รวมรายได้ข้อ 23.1 ถ้า = 0 จะทำต่อไปไม่ได้

โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 ปรับปรุงการบันทึก ข้อ 30 (มี ส่วนร่วมทำ กิจกรรม สาธารณะ) ถ้า ไม่บันทึกข้อนี้ ถือว่า “ได้เข้า ร่วม”

ปรับปรุงการออกรายงาน โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 ปรับปรุงการออกรายงาน เรียงร้อยละในตัวชี้วัดที่ 19 (3.2 ครัวเรือนที่ตก เกณฑ์ รายตัวชี้วัด) เดิมไม่เรียง

ปรับปรุงการออกรายงาน โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 ปรับปรุงการออกรายงาน ประชากร ช่วงอายุ < 1 ปี กำหนดการนับใหม่ไม่ รวม 1 ปี

ปรับปรุงการออกรายงาน โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 ปรับปรุงการออกรายงาน การรวมร้อยละด้วยมือพบว่าได้ 100.01 แก้ไขให้ เป็น 100.00 ไม่ได้เพราะการปัดเศษ และเป็นที่ ยอมรับได้ รายงาน 5.10, 5.11, 5.12, (จำแนกตาม การศึกษา) ปรับร้อยละจาก 1 ตำแหน่งให้เป็น 2 ตำแหน่ง

ปัญหาที่คณะผู้พัฒนาโปรแกรมได้รับในปี 2555-56 โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 ปัญหาที่คณะผู้พัฒนาโปรแกรมได้รับในปี 2555-56 ปี 2555 ติดตั้งโปรแกรมแล้ว-ทำงานไม่ได้ แต่ในปี 2556 แทบไม่ได้ยินปัญหานี้อีก เพราะ Windows XP ไม่เถื่อนอีกแล้ว Microsoft เปิดให้ update เป็นของแท้-ฟรี แล้ว มีการติดตั้ง Office 2010 มากขึ้น การใช้ Office 2007 ร่วมกับรุ่นอื่น น้อยลงเนื่องจาก Office รุ่นใหม่กว่ามีการรองรับรุ่นก่อนๆ อยู่แล้ว จึง ไม่จำเป็นต้องติดตั้งหลายรุ่น

ปัญหาที่คณะผู้พัฒนาโปรแกรมได้รับในปี 2555-56 โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 ปัญหาที่คณะผู้พัฒนาโปรแกรมได้รับในปี 2555-56 การบันทึกผิดปี เป็นปัญหามาก สาเหตุส่วนใหญ่อ้างว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่ใช่วันเดือนปีปัจจุบัน (แต่เป็นวันเดือน ปีที่ผลิต Bios ของเครื่องนั้นๆ) ได้เสนอให้เปลี่ยนแบตเตอรี่ CMOS บนเมนบอร์ด (CR2032 ราคา 30-70 บาท)

ปัญหาที่คณะผู้พัฒนาโปรแกรมได้รับในปี 2555-56 โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 ปัญหาที่คณะผู้พัฒนาโปรแกรมได้รับในปี 2555-56 พื้นที่ผิด ผิดหมู่ ผิดเขตพื้นที่ อบต./เทศบาล ส่งไปให้ผู้พัฒนาโปรแกรมเปลี่ยนให้ เน้นให้ผู้บันทึกตรวจสอบทำเนียบพื้นที่ว่าเป็น ชนบทหรือเมือง - ทำครั้งเดียวหลังจากติดตั้ง โปรแกรม ไม่บันทึกข้อ 30 ซึ่งเป็นข้อสุดท้าย จึงทำให้ตกเกณฑ์ แก้ไขในรุ่นใหม่แล้ว (ดังชี้แจงก่อนหน้านี้)

ปัญหาที่คณะผู้พัฒนาโปรแกรมได้รับในปี 2555-56 (ต่อ) โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 ปัญหาที่คณะผู้พัฒนาโปรแกรมได้รับในปี 2555-56 (ต่อ) ผู้พัฒนาโปรแกรม ยินดีแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับโปรแกรมเสมอ โดย จะขอ cc. คำตอบไปให้กลุ่มงานข้อมูลพื้นฐาน พช. ด้วย การโต้ตอบอีเมลกับคณะผู้พัฒนาโปรแกรม ควรใช้วิธีการ reply หรือ Replay All เพื่อจะได้ติดเอาข้อความการติดต่อก่อนหน้านั้น ไปด้วย เพื่อให้รู้ที่ไปที่มา

ปัญหาที่คณะผู้พัฒนาโปรแกรมได้รับในปี 2555-56 (ต่อ) โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555-59 ปัญหาที่คณะผู้พัฒนาโปรแกรมได้รับในปี 2555-56 (ต่อ) ผู้แจ้งปัญหามักไม่อธิบายรายละเอียดไว้ในอีเมล (แจ้งเฉพาะว่า “มี ปัญหา แก้ไขให้ด้วย”) จึงต้องเสียเวลาถามกลับไปกลับมาหลาย ครั้ง ปี 2555 ส่งออกแล้ว - ไม่มีข้อมูล และได้แก้ไขก่อนหน้านี้แล้ว จึง ไม่มีปัญหานี้อีกในปี 2556 ผู้แจ้งปัญหาส่วนใหญ่เป็นระดับจังหวัด เมื่อสอบถามรายละเอียด ของปัญหาไปมักใช้เวลานาน เสนอให้ cc. อีเมลของผู้ สอบถามใน พื้นที่ไปด้วย จะได้แก้ไขได้ ทันเวลา

สุดท้าย ขอบคุณครับ