กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
Advertisements

การจัดทำแผนบริหารจัดการชุมชน
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แจ้งผลการพิจารณาให้ มท./ สศช. / สงป. - พิจารณาอนุมัติโครงการ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
ระบบรับรองมาตรฐาน แผนชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
เจ้าภาพหลัก สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
กระบวนการขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
งบหน้าข้อมูลผู้รับเมล็ดพันธุ์ผักพระราชทานฯ
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มที่ 1.
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่มที่ 3 การทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
การจัดทำแผนชุมชน.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน นางศรีสุรินทร์ วัฒนรงคุปต์ ผอ.กลุ่มงานส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชน สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย 22 กุมภาพันธ์ 2555

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน ความเป็นมา ก่อนปี 2523 เคยมีแผนพัฒนาหมู่บ้าน (บางหมู่บ้าน) โดยมีคณะกรรมการพัฒนาหมู่บ้าน (กพม.) ช่วยจัดทำ ปี 2536 กรมฯ ส่งเสริมแนวทางการวางแผนพัฒนาหมู่บ้านแบบมีส่วนร่วม (AIC) ในการพัฒนาหมู่บ้าน/ตำบล ในตำบลนำร่อง ปี 2537 ขยายผลครอบคลุมทุกหมู่บ้านในเขตชนบท ตามกระบวนการพัฒนาชุมชน

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน ปี 2545 มติ ครม. 10 ก.ย.45 เห็นชอบ “โครงการบูรณาการแผนชุมชนเพื่อความเข้มแข็งของชุมชนและเอาชนะความยากจน” ทำให้เกิดการ รวมพลังทุกภาคส่วน ปี 2546 ส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน ร่วมกับ สภาพัฒน์และภาคีการพัฒนา 5 หน่วยงาน พื้นที่ 14 จังหวัด ปี 2547 สนับสนุนการจัดทำแผนชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน (ระดับตำบล)

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน ปี 2548 ส่งเสริมเครือข่ายการเรียนรู้เพื่อการจัดทำแผนชุมชน ปี 2549 พัฒนาศักยภาพแกนนำชุมชนในการสร้างกลยุทธ์ การบริหารจัดการแก้ไขปัญหาความยากจน และการปรับปรุงแผนชุมชน ปี 2550 สร้างการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน (โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข”)

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน ปี 2551 เน้นการสร้างประสิทธิภาพ แผนชุมชน ปี 2552 ส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน ทบทวน/ปรับปรุง ประเมินคุณภาพแผนชุมชน ระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน ปี 2553-2554 พัฒนาระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชนและพัฒนากระบวนการ บูรณาการแผนชุมชน

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน แนวคิดในการส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน แผนชุมชนเป็นเครื่องมือสำหรับหมู่บ้าน/ชุมชนใช้ในการพัฒนาตนเอง แผนชุมชนเป็นเครื่องมือสำหรับหน่วยงานใช้ในการส่งเสริมการพัฒนา ที่มีหมู่บ้าน/ชุมชนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา แผนชุมชนที่ได้มาตรฐานจะได้รับการยอมรับและนำไปใช้ประโยชน์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการ สามารถใช้แผนชุมชนเชิงบูรณาการในระดับต่าง ๆ ตั้งแต่ระดับตำบลจนถึงระดับจังหวัดและระดับชาติในการกำหนดนโยบาย เป้าหมาย และพื้นที่ดำเนินการได้อย่างแม่นยำและประสบผลสำเร็จ

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน การดำเนินงานส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน การพัฒนาแผนชุมชน การทบทวน/ปรับปรุงแผนชุมชน การรับรองมาตรฐานแผนชุมชน การจัดทำกิจกรรมตามแผนชุมชน การบูรณาการแผนชุมชนระดับ การประเมินคุณภาพแผนชุมชน ตำบล, อำเภอ, จังหวัด เป้าหมาย : แผนชุมชนมีคุณภาพเชื่อมโยงไปสู่การบูรณาการ แผนชุมชนในทุกระดับ

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน แนวคิดในการส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน ปี 2554 การขับเคลื่อนกระบวนการแผนชุมชน กระทรวงมหาดไทยมีการหารือร่วมกันและสั่งการให้ทุกหน่วยงานในระดับพื้นที่บูรณาการการทำงานร่วมกัน โดยกรมการพัฒนาชุมชน จะรับผิดชอบเป็นหน่วยงานหลักในการสนับสนุนข้อมูลสารสนเทศเพื่อการพัฒนา วิทยากรกระบวนการ ในการทบทวนปรับปรุงแผนชุมชน และระบบการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน รวมทั้งสนับสนุนให้ศูนย์ประสานงานองค์กรชุมชนระดับตำบล : ศอช.ต. เป็นหน่วยงานบูรณาการแผนชุมชนในระดับตำบล

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน แนวคิดในการส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน ปี 2554 การบูรณาการแผนชุมชน สนับสนุนกระบวนการบูรณาการแผนชุมชนทุกระดับ ระดับตำบล อำเภอ จังหวัด ทั่วประเทศ เพื่อรวบรวมความต้องการและศักยภาพของประชาชนในพื้นที่ จากการนำแผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน มาบูรณาการเป็นระดับตำบล มาเป็นแผนพัฒนาอำเภอเชิงบูรณาการ มาใช้เป็นส่วนประกอบสำคัญในแผนพัฒนาจังหวัด รวมทั้งความคิดเห็นของประชาชน จากการจัดเวทีประชาพิจารณ์แผน เพื่อเสริมให้กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และตรงกับความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง รวมทั้งสามารถนำไปใช้ในการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากท้องถิ่น จังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน แนวคิดในการส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน ปี 2554 ระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน สนับสนุนให้มีการพัฒนาระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน รวมทั้งส่งเสริมและรับรองมาตรฐานแผนชุมชน เพื่อกระตุ้นให้ชุมชนยกระดับแผนชุมชนให้มีมาตรฐาน เชื่อถือได้ ท้องถิ่นและหน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการประสานการบูรณาการกิจกรรม โครงการ และให้การสนับสนุนงบประมาณ โดยในปี 2552-2553 มีแผนชุมชนได้รับการรับรองมาตรฐานและนำไปใช้ประโยชน์ฯแล้วทั้งสิ้น 19,595 แผนชุมชน/หมู่บ้าน และในปี 2554 มีเป้าหมายที่จะรับรองให้ได้อีก 20,733 แผนชุมชน

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน แนวทางการขับเคลื่อนกระบวนการแผนชุมชนปี 55 1.สนับสนุนข้อมูลสารสนเทศชุมชนให้แก่แกนนำชุมชน/คณะทำงานด้านแผนฯ ของคณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) และส่งเสริมให้วิเคราะห์ปัญหาจากข้อมูลชุมชนที่มี (จปฐ. กชช.2ค บัญชีรับ-จ่ายครัวเรือน) 2.สนับสนุนให้แกนนำชุมชน/คณะทำงานด้านแผนฯ ของ กม. นำผลการวิเคราะห์มาหาสาเหตุของปัญหา ความต้องการ/แนวทางแก้ไข จัดลำดับความสำคัญเร่งด่วน และกำหนดเป็นแผนชุมชน/พัฒนาหมู่บ้าน

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน แนวทางการขับเคลื่อนกระบวนการแผนชุมชนปี 55 3.สนับสนุนให้ความรู้กับ ศอช.ต. ในเรื่องวิธีการขั้นตอนการบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล และประสานทำความเข้าใจกับ อปท. เพื่อให้มีคำสั่งแต่งตั้ง/มอบให้ ศอช.ต.เป็นองค์กรภาคประชาชนที่จะช่วยหรือร่วมมือกับ อปท. จัดเวทีบูรณาการแผนชุมชน/หมู่บ้าน ทุกหมู่บ้าน 4.สนับสนุนให้ ศอช.ต. จัดเวทีบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล ให้เป็นภาพรวมของตำบล โดยจัดเรียงลำดับความสำคัญของกิจกรรมโครงการในแผนบูรณาการระดับตำบลและทำเป็นเอกสารรูปเล่ม 3 เล่ม ส่ง อปท. 1 อำเภอ 1 และสำเนาเก็บไว้ 1

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน แนวทางการขับเคลื่อนกระบวนการแผนชุมชนปี 55 5.สนับสนุนให้ชุมชน/หมู่บ้าน ที่ทบทวนจัดทำแผนชุมชน/หมู่บ้านเสร็จแล้ว ประเมินตนเองว่าแผนชุมชน/หมู่บ้านมีคุณภาพในระดับดีมาก สมัครเข้ารับการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับ อปท. และหน่วยงานต่าง ๆ สามารถสนับสนุนการดำเนินงาน 6.สนับสนุนส่งเสริมให้แผนชุมชน/หมู่บ้าน มีกิจกรรมโครงการที่ชุมชน/หมู่บ้านดำเนินการเอง อย่างน้อยร้อยละ 30 7.สนับสนุนประสานให้ผู้นำชุมชน ผู้นำกลุ่มองค์กรชุมชน ที่กรมฯ ส่งเสริมอยู่ได้เข้าไปเป็นคณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) และช่วยเหลืองานในคณะทำงานด้านต่าง ๆ เพื่อพัฒนาให้ชุมชน/หมู่บ้าน มีความเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน เกณฑ์การประเมินคุณภาพแผนชุมชน (6 ตัวชี้วัด) 1.มีกระบวนการวิเคราะห์ตนเองจาฐานข้อมูลชุมชนเช่น การใช้บัญชีรับ-จ่าย ร้อยละ 70 ขึ้นไป 2.มีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผน ร้อยละ 70 ขึ้นไป 3.มีส่วนร่วมของอปท. ในการจัดทำแผนตั้งแต่ต้น รวมทั้งมีการนำกิจกรรมในแผนชุมชนไปบรรจุไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่น และร่างข้อบังคับงบประมาณประจำปีของ อบต.

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน 4.มีกระบวนการจัดทำแผนชุมชนตาม แนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5.มีกิจกรรมพึ่งตนเองอย่างน้อยร้อยละ 30 ของกิจกรรม และนำไปปฏิบัติได้จริง 6.มีแผนชุมชนเป็นลายลักษณ์อักษร เป็นรูปเล่ม หมายเหตุ ผ่านเกณฑ์ 6 ข้อ ระดับดีมาก (A) ผ่านเกณฑ์ 5 ข้อ ระดับดี (B) ผ่านเกณฑ์ 4 ข้อ ระดับพอใช้ (C)

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน ผลการตรวจสอบคุณภาพแผนชุมชน ณ 31 ม.ค.55 แผนชุมชนคุณภาพระดับดีมาก(A) 53,528 (76.39%) แผนชุมชนคุณภาพระดับดี (B) 14,541 (20.75%) แผนชุมชนคุณภาพระดับพอใช้ (C) 2,004 (2.86%) รวม 70,073

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน การรับรองมาตรฐานแผนชุมชน เกณฑ์การรับรอง 5 ด้าน 19 ตัวชี้วัด 1.ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 20 คะแนน 6 ตัวชี้วัด 2.การมีส่วนร่วม 20 คะแนน 3 ตัวชี้วัด 3.กระบวนการเรียนรู้ 25 คะแนน 2 ตัวชี้วัด 4.การใช้ประโยชน์ 25 คะแนน 3 ตัวชี้วัด 5.รูปเล่มของแผน 10 คะแนน 5 ตัวชี้วัด

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน ผลการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน ปี 2552 แผนชุมชนที่ผ่านการรับรองและนำไปใช้ประโยชน์ 8,430 แผน ปี 2553 แผนชุมชนที่ผ่านการรับรองและนำไปใช้ประโยชน์ 11,165 แผน ปี 2554 แผนชุมชนที่ผ่านการรับรองและนำไปใช้ประโยชน์ 21,246 แผน รวม 40,841 แผน

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน งบประมาณปี 55 พัฒนาแผนชุมชน  พัฒนากระบวนการแผนชุมชน บูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล 878 อำเภอ 23,881,900.-  พัฒนาระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบ 878 อำเภอ 5,663,100.- ประชุมคณะกรรมการรับรองมาตรฐาน 76 จังหวัด 2,584,000.- ประชุมคณะทำงานประเมินคุณภาพแผน 76 จังหวัด 2,466,200.-

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน ตัวชี้วัด (งบประมาณ 55) ร้อยละ 30 ของหมู่บ้านที่มีและใช้แผนชุมชนในการบริหารจัดการชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (21,339)

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน ตัวชี้วัดตามคำรับรอง 1.1.2 ระดับความสำเร็จของการ สนับสนุน/ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้าน ชุมชนด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน ระดับคะแนน 1. มีการสรุปสถานะของแผนทุกหมู่บ้าน พร้อมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์อย่างน้อย 2 ช่องทาง 2. คณะกรรมการหมู่บ้าน/ชุมชน จัดเวทีประชาคม เพื่อทบทวน ปรับปรุงและบูรณาการ โดยใช้แผนชุมชนเดิม เพื่อ ให้ได้แผนที่เป็นปัจจุบัน 3. ตัวแทนองค์กร/เครือข่ายภาคประชาชน ร่วมดำเนินโครงการ/กิจกรรมตามแผนโดยไม่ใช้งบประมาณอย่างน้อย 2 โครงการ 4. มีการจัดเวทีประชาคมระดับตำบล เพื่อพิจารณาโครงการ อย่างน้อย 1 โครงการ/กิจกรรมต่อหมู่บ้าน และนำเข้าบรรจุ ในแผนพัฒนาท้องถิ่น หรือแผนของหน่วยงานอื่นๆ 5. มีโครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนาหมู่บ้าน ในระดับ 4 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณหรือร่วมดำเนินการจาก อปท. หรือหน่วยงานอื่น ๆ ในแต่ละปี อย่างน้อยร้อยละ 20 ของโครงการ/กิจกรรม

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน ตัวชี้วัดตามคำรับรอง กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาชุมชน และส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ตัวชี้วัด 3.2 ร้อยละของเทศบาล และ อบต.ต้นแบบที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด

กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน การนำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่น ตามเกณฑ์ที่กำหนด 1. เทศบาลและ อบต.ต้นแบบ ส่งเสริมสนับสนุนกระบวนการแผนชุมชน โดยตั้งคณะทำงานร่วมกัน 2. สนับสนุนให้คณะกรรมการหมู่บ้าน/ชุมชน จัดเวทีประชาคม ทบทวน ปรับปรุงแผนชุมชนให้ครอบคลุมมิติการพัฒนาอย่างน้อย 3 ด้าน โดยใช้ข้อมูลชุมชน จปฐ. กชช.2ค 3. สนับสนุนให้ ศอช.ต. และ สอช. หรือองค์กรภาคประชาชนอื่นระดับตำบลร่วมกับแกนนำ จัดเวทีประชาคมระดับตำบล เพื่อบูรณาการที่มีมิติการพัฒนาอย่างน้อย 3 ด้าน 4. นำโครงการ/กิจกรรมจากแผนชุมชนที่เกิดจากเวทีประชาคม ข้อ 3 ที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ตามลำดับความสำคัญ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 กำหนดไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่นของปีถัดไป 5. โครงการ/กิจกรรมในแผนชุมชนที่บรรจุไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่นของปีถัดไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ได้รับการบรรจุไว้ในร่างข้อบังคับงบประมาณของเทศบาล หรือ อบต.ต้นแบบในปีถัดไป

Q&A