การจัดการ ความสะอาดส้วม และ การกำจัดสิ่งปฏิกูล
ผลการสำรวจความพึงพอใจ เรื่องความสะอาดส้วมสาธารณะ สภาพความสะอาด เปอร์เซนต์( % ) ดี 16.0 21.6 พอใช้ 75.3 58.9 ไม่ดีต้องปรับปรุง 8.7 19.5 รวม 100 100.0
สภาพความบกพร่องของส้วมสาธารณะ พื้นเปียกแฉะ 58.0 % การซ่อมบำรุง ฝุ่น ไยแมลงมุม เศษกระดาษ ขยะ คราบสกปรก แมลงสาบ มด แมลงวัน กลิ่นเหม็นอับ พื้นเปียกแฉะ ความไม่เป็นระเบียบ 65.0 % 37.9 % 34.0 % 8.6 % คราบสกปรก 31.5 % กลิ่นเหม็นอับ 24.5 % เศษกระดาษ ขยะ 23.0 % ความไม่เป็นระเบียบ 17.5 % ฝุ่น ไยแมลงมุม 10.5 % การซ่อมบำรุง 9.0 % แมลงสาบ มด แมลงวัน 8.0 %
การแพร่เชื้อโรคจากส้วม
จุดที่พบเชื้อโรคจากอุจจาระมากในห้องส้วม 7.7 6.9 2.7 31.0 50.0
จุดที่พบเชื้อโรคจากอุจจาระที่พื้นห้องส้วม 2 1 3 จุดที่พบเชื้อโรคจากอุจจาระที่พื้นห้องส้วม
จุดที่พบเชื้อโรคจากอุจจาระที่ผนังห้องส้วม 3 2 1
จุดที่พบเชื้อโรคจากอุจจาระที่ผนังห้องส้วม 3 2 1
จุดที่พบเชื้อโรคจากอุจจาระที่ผนังห้องส้วม 3 2 1
จุดที่พบเชื้อโรคจากอุจจาระที่ผนังห้องส้วม 3 2 1
ละอองน้ำจากส้วม
การระบายอากาศในส้วม
20 นาที
6 ชั่วโมง 250,000 ตัว 24 ชั่วโมง 281 ล้าน ล้าน ตัว
ปัจจัยในการทำความสะอาด ส้วมสาธารณะ
1.ความร่วมมือของผู้ใช้ส้วม
2.การจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ 1. คน พนักงานทำความสะอาด 2. วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี 3. การจัดการ/วิธีการ 4. เงิน / งบประมาณ
ปัจจัยที่มีผลต่อความสะอาดส้วม 7.การตรวจติดตามงานของ บริษัท/ผู้รับผิดชอบ 3.ความรู้ความสามารถพนักงาน ทำความสะอาด 5.ความถี่ในการทำความสะอาด 6.วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี ทำความสะอาด 4.ความขยันทำงานของพนักงาน ทำความสะอาด 8.การตรวจติดตามงานของ เจ้าของสถานที่ 2.ความร่วมมือของผู้ใช้ส้วม 1.จำนวนผู้ใช้ส้วม
H = สุขลักษณะ สะอาด 1. สะอาด ( H-Healthy ) 1. พื้น ผนัง เพดาน โถส้วม ที่กดโถส้วม โถปัสสาวะ สะอาด ไม่มีคราบสกปรก สภาพดี ใช้งานได้ 2. น้ำใช้สะอาด เพียงพอ ภาชนะเก็บกักน้ำ ขันตักน้ำสะอาด ไม่มีลูกน้ำยุง สภาพดี ใช้งานได้ 3. กระดาษชำระเพียงพอให้บริการหรือ สายฉีดน้ำชำระสะอาด สภาพดี ใช้งานได้ 4. อ่างล้างมือ ก๊อกน้ำ กระจก สะอาด ไม่มีคราบสกปรก สภาพดี ใช้งานได้ 5. มีสบู่ล้างมือ ให้ใช้ ตลอดเวลาให้บริการ 6. ถังรองรับมูลฝอย มีฝาปิด สะอาดสภาพดี ไม่รั่วซึม ตั้งบริเวณอ่างล้างมือ หรือใกล้เคียง 7. การระบายอากาศดี และ ไม่มีกลิ่นเหม็น 8. สภาพท่อระบายสิ่งปฏิกูลและถังเก็บกักไม่รั่วแตกหรือชำรุด 9.มีการทำความสะอาด ซ่อมบำรุงและควบคุมตรวจตราเป็นประจำ H = สุขลักษณะ สะอาด
A = ความเพียงพอ 2. สะดวก เพียงพอ ( A-Accessibility ) 10. มีส้วมนั่งราบสำหรับผู้พิการ ผู้สูงวัย หญิงตั้งครรภ์ทั่วไปอย่างน้อยหนึ่งที่ 11.ส้วมสาธารณะพร้อมใช้งานตลอดเวลาที่เปิดให้บริการ
S = ความปลอดภัย 3. ปลอดภัย (S-Safety ) ความปลอดภัยของผู้ใช้ส้วม 12.บริเวณที่ตั้งส้วมต้องไม่อยู่ที่ลับตา/เปลี่ยว 13. กรณีที่มีห้องส้วมตั้งแต่ 2 ห้องขึ้นไป ให้แยกเป็นห้องส้วม สำหรับชาย – หญิง มีป้าย หรือสัญลักษณ์ที่ชัดเจน 14. ประตู ที่จับเปิด – ปิด และที่ล็อคด้านใน สะอาด สภาพดี ใช้งานได้ 15. พื้นห้องส้วมแห้ง 16. แสงสว่างเพียงพอ สามารถมองเห็นได้ทั่วบริเวณ S = ความปลอดภัย
อย่าห้ามความอยากรู้อยากเห็น Don’t stop your curiosity. สุขลักษณะ “สะอาดดีไหม ?” อย่าห้ามความอยากรู้อยากเห็น Don’t stop your curiosity.
ช่วยบอกส่วนที่ดี และส่วนที่ควรแก้ไข ของส้วม ด้วยคะ
ชนิดของความสกปรกที่เกิดจากการปนเปื้อน การปนเปื้อนทางกายภาพ การปนเปื้อนจากสารเคมี การปนเปื้อนจากเชื้อจุลินทรีย์
1.อุปกรณ์ที่ดีและเพียงพอ
อุปกรณ์ทำความสะอาด อุปกรณ์ทำความสะอาด 1. ผ้า 2. ฟองน้ำ 3. สก็อตไบร์ท 4. แปรง 5. ไม้ม็อป 6. ไม้กวาด 7. แปรงรีดน้ำ 8. แปรงกวาดยักไย้ 9. ที่ตักผง 10.เกียง 11. ถ้วยตวง 12. ป้ายเตือน 13. ที่ปิดจมูก 14. รองเท้ายาง 15. ผ้ากันเปื้อน 16. กระป๋องใส่น้ำ 17. ถุงใส่ขยะ 18. ถุงมือ
2.น้ำยาทำความสะอาด กลุ่มน้ำยาผสมกรด กลุ่มน้ำยาผสมด่างแก่ กลุ่มน้ำยาผสมสารอินทรีย์ กลุ่มน้ำยาผสมสารอินทรีย์และด่างอ่อน
กลไกการทำงานของสารทำความสะอาด ส่วนละลายในน้ำ ส่วนละลายในไขมัน
3.วิธีการทำความสะอาด
การทำงานของจุลินทรีย์ย่อยสิ่งปฏิกูล
ส่วนประกอบอุจจาระคน 1. ส่วนที่เป็นกากของแข็ง 27 กรัม 1. ส่วนที่เป็นกากของแข็ง 27 กรัม 2. ส่วนที่เป็นของเหลว 100 - 200 กรัม 3. มีเชื้อจุลินทรีย์ * E-Coli 400x106 ตัว * Fecal Coliform 2000x106 ตัว * Fecal Streptococci 2000x106 ตัว * อุจจาระ/คน/วัน Joseph, A., Salvato, Jr. Environmental Engineering and Sanitation. 1982.pp.379
บ่อเกรอะปฏิกูล SCUM SUPERNATANT SLUDGE
ปริมาณสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากคนต่อปี สิ่งปฏิกูล 1 กก. จะถูกย่อยเหลือส่วนที่เป็นกากร้อยละ 12.33 0.365 ลบ.ม เมื่อย่อยแล้วเหลือ 0.045 ลบ.ม/ ป (45 ล/ ป หรือ 0.123 ล / ว ) * สิ่งปฏิกูล เมื่อย่อยแล้วเหลือ 0.037595 ลบ.ม/ป (37.595 ล/ป หรือ 0.103 ล/ว ) ** สิ่งปฏิกูล เมื่อย่อยแล้วเหลือ 0.04 ลบ.ม/ป (30-60 ล/ป หรือ 0.109 ล /ว ) *** * WHO 2538 **โครงการกำจัดสิ่งปฏิกูลตามแนวพระราชดำริ กรมอนามัย 2549 *** อนามัยสิ่งแวดล้อม ผศ พัฒนามูลพฤก 2546