การพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2554

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
Advertisements

ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การสร้างแรงจูงใจและพัฒนา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ความหมายและกระบวนการ
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สวัสดีครับ.
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
สรุปผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่น จังหวัดเพชรบุรี
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โครงการศูนย์บริการประชาชนเคลื่อนที่ในเขตปฏิรูปที่ดินจังหวัดกระบี่
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การติดตามประเมินผล ปี 2552
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
สรุปการประชุม เขต 10.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะ
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ผลการดำเนินงาน แม่บ้านสาธารณสุข
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สกลนครโมเดล.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2554 การพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2554 : การอบรมฟื้นฟูความรู้ อสม.

วัตถุประสงค์การศักยภาพ อสม. 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการจัดทำและมีส่วนร่วมในการจัดทำ แผนสุขภาพชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในชุมชนของตนเอง 2.เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะด้านสุขภาพ แก่ อสม. ในการทำงานเชิงรุก โดยการเป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำสุขภาพในระดับชุมชน เพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ 3.เพื่อส่งเสริมให้ อสม. ได้รับการพัฒนาสามารถการดำเนินงานสุขภาพ ชุมชนในพื้นที่ รพ.สต.ได้อย่างเข้มแข็ง เป้าหมายในการอบรมฟื้นฟู อสม. - อบรม อสม.ในรพ.สต. ทุกแห่งๆ ละ 18 คน ระยะเวลา 2 วัน 1 คืน

การสนับสนุนการอบรมฟื้นฟู อสม. ปี 54 งบประมาณ 230 บาท : อสม. 1 คน สื่อสิ่งพิมพ์ 1. คู่มือ อสม.ยุคใหม่ 2.แนวทางการดำเนินงานโดย อสม. (โครงการสนองน้ำพระหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน) 3.องค์ความรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1)ปรับพฤติกรรมสุขภาพเด็กไทย 2) กินให้เป็นเน้นผักผลไม้ 3)ฉลาดอ่านฉลาก ลดหวาน มัน เค็ม

เนื้อหาในการอบรมฟื้นฟู อสม. 54 การดำเนินงานแผนสุขภาพตำบลใน รพ.สต. บทบาท อสม.ในการทำงานเชิงรุก โดยการเป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำสุขภาพในระดับชุมชน เพื่อ -การแก้ไขปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ 5 โรค ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด อัมพฤกษ์อัมพาต และโรคมะเร็ง -การปรับพฤติกรรมสุขภาพเด็กไทย กินให้เป็นเน้นผักผลไม้ ฉลาดอ่านฉลาก ลดหวาน มัน เค็ม (เน้นในตำบลจัดการสุขภาพ 5 แห่ง) -การเป็นทูตไอโอดีน อื่นๆ

การประเมิน/ ติดตามผลการอบรมฟื้นฟู อสม. 54 ขณะฝึกอบรม ประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรม ก่อน และ หลังการอบรม ทุกคน (pre-test และ post-test) (ในตำบลจัดการสุขภาพ 5 แห่ง) - ส่วนกลาง (กอง สช.+ศูนย์ สช.)จัดทำแบบประเมิน ส่งให้จังหวัดดำเนินการ และรวบรวมผลประเมิน/รายงานจำนวนผู้รับการอบรม ส่งกลับมายังศูนย์ฯ หลังการอบรม ประเมินศักยภาพ อสม. + การมีส่วนร่วม ของ อสม. (สุ่มประเมิน อสม.ในบาง รพ.สต ของจังหวัดในทุกภาค) - ส่วนกลาง (กอง สช.+ศูนย์ สช.) จัดทำแบบประเมิน ส่งให้จังหวัดดำเนินการ และรวบรวมผล ส่งกลับมายังศูนย์ฯ

ขอความร่วมมือจากจังหวัด ดังนี้ - แจ้งแผนการอบรมฟื้นฟู อสม. (รูปแบบอบรม / วัน-เวลา-สถานที่อบรม) รวบรวมผลประเมินความรู้ / จำนวนผู้เข้าอบรม - รวบรวมผลการประเมินศักยภาพ อสม. + การมีส่วนร่วมของ อสม. ขอขอบพระคุณ ส่งข้อมูลกลับ มาทีศูนย์ สช.ภาคกลาง montha33@gmail.com