ทบทวนแผนปฏิบัติการ การดำเนินงานสุขภาพ ภาคประชาชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสุขภาพชุมชน 10 มิถุนายน 2555.
Advertisements

กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
(ร่าง) แผนรองรับการส่งต่อผู้ป่วยออกจากกรุงเทพมหานคร กรณีที่ตั้งรพ
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
กรอบนโยบาย แผนงาน/โครงการที่จะดำเนินการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ติดตามการพัฒนา รพ.สต. ด้านกำลังคน
การแบ่งงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การสร้างแรงจูงใจและพัฒนา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานระดับกลุ่มจังหวัดและระดับจังหวัด
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การพัฒนาระบบ Datacenter
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แนวทางการประชุมกลุ่ม
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
ผลงาน ราย ผลงาน >20 ราย 13 จว. 16 แห่ง ขอนแก่น แพร่ นนทบุรี เชียงราย ลำปาง ปทุมธานี สระบุรี อ่างทอง สงขลา สุราษฎร์ ธานี ภูเก็ต หน่วยที่มี ผลงาน.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
กลุ่ม ก้าวไกลกับไอทีที่ ศบกต.
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาเขตสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ความสุขคนไทย” ระหว่างวันที่ กันยายน 2554.
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
Happy Newyear 2009 สวัสดีปีใหม่ 2552 แด่...ทุกท่าน
เริ่ม ออก.
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทบทวนแผนปฏิบัติการ การดำเนินงานสุขภาพ ภาคประชาชน ปี ๒๕๕๔

เครือข่ายให้เกิดการจัดการระบบสุขภาพชุมชน เพื่อนำไปสู่ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรหลักที่เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคี เครือข่ายให้เกิดการจัดการระบบสุขภาพชุมชน เพื่อนำไปสู่ การพึ่งตนเองทางด้านสุขภาพของประชาชน

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน ปี 2554 ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพ อสม.และองค์กร อสม. ยุทธศาสตร์ที่ 2 เสริมสร้างบทบาทภาคีเครือข่ายสุขภาพ ภาคประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนารูปแบบและระบบการจัดการงานสาธารณสุข มูลฐานเพื่อพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาองค์กรและการบริหารจัดการ

ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ อสม.

1) ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน พ. ศ 1) ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน พ.ศ. ๒๕๕๔ - คณะกรรมการกลาง - คณะกรรมการระดับจังหวัด - หลักสูตรฝึกอบรมมาตรฐาน อสม. - มาตรฐานสมรรถนะของ อสม.

2) ฐานข้อมูล อสม. (ที่มีสิทธิ์รับค่าป่วยการ) - จำนวนฐานข้อมูล รายชื่ออสม. ที่มีสิทธิ์รับเงิน เท่ากับ จำนวนโควตา (ภายใน 10 มิย. 54 แจ้งส่วนกลางว่า จังหวัดสามารถหาคนได้ตามโควต้าหรือไม่)

1. นนทบุรี 2. นครปฐม (-4) 4. ตราด (-13) 3. พระนครศรีอยุธยา จังหวัดที่มี อสม. ในฐานข้อมูลเท่ากับที่ได้รับจัดสรร 3 จังหวัด (23 พค. 54) 1. นนทบุรี 2. ลพบุรี 3. พระนครศรีอยุธยา   จังหวัดที่มี อสม. ในฐานข้อมูลน้อยกว่าที่ได้รับจัดสรร 11 จังหวัด 1.สมุทรสาคร (-2) 2. นครปฐม (-4) 3. เพชรบุรี (-9) 4. ตราด (-13) 5. สมุทรสงคราม (-16) 6. ประจวบคีรีขันธ์ (-19) 7. ปราจีนบุรี (-38) 8. สิงห์บุรี (-41) 9. จันทบุรี (-83) 10. สมุทรปราการ (-111) 11. ระยอง (-241) จังหวัดที่มี อสม. ในฐานข้อมูลมากกว่าที่ได้รับจัดสรร 11 จังหวัด 1. กาญจนบุรี (+1) 2. นครนายก (+14) 3.สระบุรี (+19) 4. ชัยนาท (+22) 5. ฉะเชิงเทรา (+38) 6. อ่างทอง (+56) 7. สระแก้ว (+138) 8. สุพรรณบุรี (+177) 9. ราชบุรี (+234) 10. ปทุมธานี (+235) 11. ชลบุรี (+812)

210,702 211,871 จังหวัด จำนวน ที่ได้รับการจัดสรร จน. อสม.ในฐาน ข้อมูล จน.อสม. ในฐาน ข้อมูล นนทบุรี 7,850 กาญจนบุรี 13,700 13,701 ปทุมธานี 8,250 8,485 นครปฐม 9,630 9,626 พระนครศรีอยุธยา 11,215 ราชบุรี 11,640 11,874 สระบุรี 9,800 9,819 สุพรรณบุรี 14,400 14,577 ชัยนาท 9,200 9,222 ประจวบคีรีขันธ์ 7,256 7,237 ลพบุรี 11,250 เพชรบุรี 7,380 7,371 สิงห์บุรี 4,380 4,339 สมุทรสงคราม 2,160 2,144 อ่างทอง 4,770 4,826 สมุทรสาคร 3,120 3,118 ฉะเชิงเทรา 10,367 10,405 จันทบุรี 8,640 8,557 นครนายก 3,952 3,966 ชลบุรี 12,690 13,502 ปราจีนบุรี 8,830 8,792 ตราด 4,260 4,247 สมุทรปราการ 7,739 ระยอง 9,620 9,379 สระแก้ว 8,492 8,630 รวม 210,702 211,871

3.) ความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพ อสม. 3.1) การอบรมฟื้นฟู อสม. สอ. ละ 18 คน (โอนเงินให้สสจ.แล้ว) ประเมินความรู้ อสม. 5 เรื่อง 3.2) การอบรม อสม.เชี่ยวชาญ งานอนามัย แม่และเด็ก ปี 2554 สอ. ละ 2 คน (ยังไม่โอนเงินให้สสจ.) ประเมินความรู้ อสม. เฉพาะเรื่อง

จังหวัด จำนวนรพ.สต. จำนวนรพ.สต.x2 นนทบุรี 76 152 กาญจนบุรี 141 282 ปทุมธานี 78 156 นครปฐม 134 268 พระนครศรีอยุธยา 205 410 ราชบุรี 162 324 สระบุรี 126 252 สุพรรณบุรี 174 348 ชัยนาท 72 144 ประจวบคีรีขันธ์ 81 ลพบุรี 133 266 เพชรบุรี 117 234 สิงห์บุรี 47 94 สมุทรสงคราม 49 98 อ่างทอง สมุทรสาคร 55 110 ฉะเชิงเทรา 119 238 จันทบุรี 105 210 นครนายก 56 112 ชลบุรี 120 240 ปราจีนบุรี 93 186 ตราด 66 132 สมุทรปราการ 68 136 ระยอง 188 สระแก้ว 107 214 รวม 1256 2512

4. การส่งเสริม พัฒนาและสนับสนุน ชมรม อสม 4. การส่งเสริม พัฒนาและสนับสนุน ชมรม อสม. ให้มีส่วนร่วมในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน 4.1) พัฒนาชมรม อสม. ให้จดทะเบียนเป็นเป็นนิติบุคคล เช่น สมาคม มูลนิธิ ฯลฯ (มีชมรม อสม. ที่เป็นนิติบุคคล 17 จังหวัด)

4. 2) การส่งเสริม พัฒนาและสนับสนุน ชมรม อสม 4.2) การส่งเสริม พัฒนาและสนับสนุน ชมรม อสม. ให้มีส่วนร่วมในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ประเมินศักยภาพการดำเนินงานชมรม 4.3) พัฒนาการเขียนโครงการขอทุน องค์กรสาธารณะประโยชน์ ดูข้อมูลโครงการ ได้ที่ www.phcblog.net/vhv-c

เครือข่ายสุขภาพ ภาคประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ ๒ เสริมสร้างบทบาทภาคี เครือข่ายสุขภาพ ภาคประชาชน

2.1 ร้อยละของหมู่บ้านมีการจัดการด้านสุขภาพ หมู่บ้านผ่านเกณฑ์ การจัดการสุขภาพ ร้อยละ 84 บันทึกข้อมูลผ่านเว็บไซต์ www.thaiphc.net - โอนเงินให้ อำเภอละ 5,000 บาท และ - จังหวัดละ 10,000 บาท - กอง สช. จัดพิมพ์แบบประเมิน และส่งให้สสจ. ภายในเดือน มิถุนายน 2554

2.๒ ภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน ที่ได้รับการส่งเสริมพัฒนา และสนับสนุนมีส่วนร่วมในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน จังหวัด มีการพัฒนา - ตำบลจัดการสุขภาพ จังหวัดละ 5 ตำบล - โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน จังหวัดละ ๓ แห่ง/ตำบล - โอนเงินให้จังหวัด ตำบลละ ๑๐,000 บาท

2.๓ การเสริมสร้างบทบาทภาคีเครือข่ายสุขภาพ ภาคประชาชน เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลสู่การปฏิบัติ บันทึกข้อมูลแผนสุขภาพตำบล ได้ที่ www.thaiphc.net

2.๔ การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการจัดระบบเฝ้าระวังโรคที่เป็นภัยคุกคามสุขภาพชุมชน (ไข้หวัดใหญ่ 2009) จังหวัด มีการพัฒนาตำบลจัดการเฝ้าระวังโรคที่เป็นภัยคุกคาม จังหวัดละ ๓ ตำบล - โอนเงินให้จังหวัด ตำบลละ ๑๐,000 บาท

ยุทธศาสตร์ที่ ๓ พัฒนารูปแบบและระบบการจัดการงานสาธารณสุขมูลฐาน เพื่อพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน

อบรมครูประจำกลุ่ม กศน. ๓.๑ การพัฒนาการศึกษา ขั้นพื้นฐานของ อสม. อบรมครูประจำกลุ่ม กศน. อำเภอละ 2 คน