ทบทวนแผนปฏิบัติการ การดำเนินงานสุขภาพ ภาคประชาชน ปี ๒๕๕๔
เครือข่ายให้เกิดการจัดการระบบสุขภาพชุมชน เพื่อนำไปสู่ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรหลักที่เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคี เครือข่ายให้เกิดการจัดการระบบสุขภาพชุมชน เพื่อนำไปสู่ การพึ่งตนเองทางด้านสุขภาพของประชาชน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน ปี 2554 ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพ อสม.และองค์กร อสม. ยุทธศาสตร์ที่ 2 เสริมสร้างบทบาทภาคีเครือข่ายสุขภาพ ภาคประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนารูปแบบและระบบการจัดการงานสาธารณสุข มูลฐานเพื่อพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาองค์กรและการบริหารจัดการ
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพ อสม.
1) ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน พ. ศ 1) ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน พ.ศ. ๒๕๕๔ - คณะกรรมการกลาง - คณะกรรมการระดับจังหวัด - หลักสูตรฝึกอบรมมาตรฐาน อสม. - มาตรฐานสมรรถนะของ อสม.
2) ฐานข้อมูล อสม. (ที่มีสิทธิ์รับค่าป่วยการ) - จำนวนฐานข้อมูล รายชื่ออสม. ที่มีสิทธิ์รับเงิน เท่ากับ จำนวนโควตา (ภายใน 10 มิย. 54 แจ้งส่วนกลางว่า จังหวัดสามารถหาคนได้ตามโควต้าหรือไม่)
1. นนทบุรี 2. นครปฐม (-4) 4. ตราด (-13) 3. พระนครศรีอยุธยา จังหวัดที่มี อสม. ในฐานข้อมูลเท่ากับที่ได้รับจัดสรร 3 จังหวัด (23 พค. 54) 1. นนทบุรี 2. ลพบุรี 3. พระนครศรีอยุธยา จังหวัดที่มี อสม. ในฐานข้อมูลน้อยกว่าที่ได้รับจัดสรร 11 จังหวัด 1.สมุทรสาคร (-2) 2. นครปฐม (-4) 3. เพชรบุรี (-9) 4. ตราด (-13) 5. สมุทรสงคราม (-16) 6. ประจวบคีรีขันธ์ (-19) 7. ปราจีนบุรี (-38) 8. สิงห์บุรี (-41) 9. จันทบุรี (-83) 10. สมุทรปราการ (-111) 11. ระยอง (-241) จังหวัดที่มี อสม. ในฐานข้อมูลมากกว่าที่ได้รับจัดสรร 11 จังหวัด 1. กาญจนบุรี (+1) 2. นครนายก (+14) 3.สระบุรี (+19) 4. ชัยนาท (+22) 5. ฉะเชิงเทรา (+38) 6. อ่างทอง (+56) 7. สระแก้ว (+138) 8. สุพรรณบุรี (+177) 9. ราชบุรี (+234) 10. ปทุมธานี (+235) 11. ชลบุรี (+812)
210,702 211,871 จังหวัด จำนวน ที่ได้รับการจัดสรร จน. อสม.ในฐาน ข้อมูล จน.อสม. ในฐาน ข้อมูล นนทบุรี 7,850 กาญจนบุรี 13,700 13,701 ปทุมธานี 8,250 8,485 นครปฐม 9,630 9,626 พระนครศรีอยุธยา 11,215 ราชบุรี 11,640 11,874 สระบุรี 9,800 9,819 สุพรรณบุรี 14,400 14,577 ชัยนาท 9,200 9,222 ประจวบคีรีขันธ์ 7,256 7,237 ลพบุรี 11,250 เพชรบุรี 7,380 7,371 สิงห์บุรี 4,380 4,339 สมุทรสงคราม 2,160 2,144 อ่างทอง 4,770 4,826 สมุทรสาคร 3,120 3,118 ฉะเชิงเทรา 10,367 10,405 จันทบุรี 8,640 8,557 นครนายก 3,952 3,966 ชลบุรี 12,690 13,502 ปราจีนบุรี 8,830 8,792 ตราด 4,260 4,247 สมุทรปราการ 7,739 ระยอง 9,620 9,379 สระแก้ว 8,492 8,630 รวม 210,702 211,871
3.) ความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพ อสม. 3.1) การอบรมฟื้นฟู อสม. สอ. ละ 18 คน (โอนเงินให้สสจ.แล้ว) ประเมินความรู้ อสม. 5 เรื่อง 3.2) การอบรม อสม.เชี่ยวชาญ งานอนามัย แม่และเด็ก ปี 2554 สอ. ละ 2 คน (ยังไม่โอนเงินให้สสจ.) ประเมินความรู้ อสม. เฉพาะเรื่อง
จังหวัด จำนวนรพ.สต. จำนวนรพ.สต.x2 นนทบุรี 76 152 กาญจนบุรี 141 282 ปทุมธานี 78 156 นครปฐม 134 268 พระนครศรีอยุธยา 205 410 ราชบุรี 162 324 สระบุรี 126 252 สุพรรณบุรี 174 348 ชัยนาท 72 144 ประจวบคีรีขันธ์ 81 ลพบุรี 133 266 เพชรบุรี 117 234 สิงห์บุรี 47 94 สมุทรสงคราม 49 98 อ่างทอง สมุทรสาคร 55 110 ฉะเชิงเทรา 119 238 จันทบุรี 105 210 นครนายก 56 112 ชลบุรี 120 240 ปราจีนบุรี 93 186 ตราด 66 132 สมุทรปราการ 68 136 ระยอง 188 สระแก้ว 107 214 รวม 1256 2512
4. การส่งเสริม พัฒนาและสนับสนุน ชมรม อสม 4. การส่งเสริม พัฒนาและสนับสนุน ชมรม อสม. ให้มีส่วนร่วมในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน 4.1) พัฒนาชมรม อสม. ให้จดทะเบียนเป็นเป็นนิติบุคคล เช่น สมาคม มูลนิธิ ฯลฯ (มีชมรม อสม. ที่เป็นนิติบุคคล 17 จังหวัด)
4. 2) การส่งเสริม พัฒนาและสนับสนุน ชมรม อสม 4.2) การส่งเสริม พัฒนาและสนับสนุน ชมรม อสม. ให้มีส่วนร่วมในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ประเมินศักยภาพการดำเนินงานชมรม 4.3) พัฒนาการเขียนโครงการขอทุน องค์กรสาธารณะประโยชน์ ดูข้อมูลโครงการ ได้ที่ www.phcblog.net/vhv-c
เครือข่ายสุขภาพ ภาคประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ ๒ เสริมสร้างบทบาทภาคี เครือข่ายสุขภาพ ภาคประชาชน
2.1 ร้อยละของหมู่บ้านมีการจัดการด้านสุขภาพ หมู่บ้านผ่านเกณฑ์ การจัดการสุขภาพ ร้อยละ 84 บันทึกข้อมูลผ่านเว็บไซต์ www.thaiphc.net - โอนเงินให้ อำเภอละ 5,000 บาท และ - จังหวัดละ 10,000 บาท - กอง สช. จัดพิมพ์แบบประเมิน และส่งให้สสจ. ภายในเดือน มิถุนายน 2554
2.๒ ภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน ที่ได้รับการส่งเสริมพัฒนา และสนับสนุนมีส่วนร่วมในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน จังหวัด มีการพัฒนา - ตำบลจัดการสุขภาพ จังหวัดละ 5 ตำบล - โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน จังหวัดละ ๓ แห่ง/ตำบล - โอนเงินให้จังหวัด ตำบลละ ๑๐,000 บาท
2.๓ การเสริมสร้างบทบาทภาคีเครือข่ายสุขภาพ ภาคประชาชน เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลสู่การปฏิบัติ บันทึกข้อมูลแผนสุขภาพตำบล ได้ที่ www.thaiphc.net
2.๔ การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการจัดระบบเฝ้าระวังโรคที่เป็นภัยคุกคามสุขภาพชุมชน (ไข้หวัดใหญ่ 2009) จังหวัด มีการพัฒนาตำบลจัดการเฝ้าระวังโรคที่เป็นภัยคุกคาม จังหวัดละ ๓ ตำบล - โอนเงินให้จังหวัด ตำบลละ ๑๐,000 บาท
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ พัฒนารูปแบบและระบบการจัดการงานสาธารณสุขมูลฐาน เพื่อพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน
อบรมครูประจำกลุ่ม กศน. ๓.๑ การพัฒนาการศึกษา ขั้นพื้นฐานของ อสม. อบรมครูประจำกลุ่ม กศน. อำเภอละ 2 คน