กลุ่มโภชนาการประยุกต์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
Advertisements

สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
VISION MISSION STRATEGIC MAP. วิสัยทัศน์ (VISION) งานสารสนเทศ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่ เป็นศูนย์ สารสนเทศงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Hybrid.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ที่โครงการงบประมา ณ ( บาท ) กลุ่มเป้าหม าย 5 โครงการส่งเสริมสวัสดิภาพเด็ก ปฐมวัยในชุมชน 21,000, เรื่อง 1 หลักสูตร มีทั้งสิ้น 7 โครงการ เป็นเงิน 148,655,200.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
กรณีความเสี่ยง DMSc.
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายด้านบริหาร.
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
ผู้อำนวยการสถานศึกษา, รองผู้อำนวยการสถานศึกษา  ที่ปรึกษาโครงการฯ โครงการเสริมสร้างศักยภาพฯ ( แบ่งเป็น 4 กิจกรรมหลัก ) เกษตร สหกรณ์ โภชนาการ สุขภาพ -
โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มโภชนาการประยุกต์

บทบาทหน้าที่ 1. กำหนดกรอบทิศทาง นโยบายการดำเนินงานด้านโภชนาการประยุกต์เพื่อสุขภาพเพื่อประชาชน ในระดับองค์กร ท้องถิ่น และระดับประเทศ 2. ศึกษา วิจัย พัฒนาองค์ความรู้อาหารทางเลือกตามกระแสและรูปแบบการส่งเสริมโภชนาการประยุกต์เพื่อสุขภาพ

3. พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานทางโภชนาการประยุกต์เพื่อสุขภาพ 4. พัฒนาระบบและกลไกด้านโภชนาการประยุกต์ เพื่อสุขภาพร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5. จัดทำฐานข้อมูลและพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านโภชนาการประยุกต์ เพื่อสุขภาพ

6. บริหารจัดการความรู้ โภชนาการประยุกต์เพื่อสุขภาพ 7. ถ่ายทอดเทคโนโลยีบริการและ นวัตกรรม ด้านโภชนาการประยุกต์เพื่อสุขภาพ 8. ประสานงานและจัดทำความร่วมมือด้านโภชนาการประยุกต์เพื่อสุขภาพกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ 9. การคุ้มครองผู้บริโภคด้านโภชนาการ

งานส่งเสริมโภชนาการของกลุ่มเฉพาะ (นักกีฬา ผู้ป่วยเอดส์ ยาเสพติด ผู้ประสบภัยวิบัติฯลฯ) บทบาทหน้าที่ 1. ศึกษา วิจัย พัฒนาองค์ความรู้และพัฒนารูปแบบการส่งเสริมโภชนาการของกลุ่มเฉพาะ 2. ประเมินสถานการณ์และจัดทำฐานข้อมูลด้านโภชนาการของกลุ่มเฉพาะ

3. พัฒนาคุณภาพและเกณฑ์มาตรฐานด้านโภชนาการของกลุ่มเฉพาะ 4. การถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมของกลุ่มเฉพาะแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5. ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานโภชนาการของกลุ่มเฉพาะ 6. ควบคุม กำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

งานเสริมสร้างโภชนาการทางเลือก (Funtional food อาหารตามกระแส แมคโคไบโอติก ฯลฯ) บทบาทหน้าที่ 1. ศึกษาและพัฒนาชนิดของอาหารทางเลือกทั้งในและต่างประเทศ 2. ประเมินสถานการณ์ ด้านโภชนาการทางเลือก 3. พัฒนารูปแบบและส่งเสริมการบริโภคอาหารทางเลือก 4. พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานด้านโภชนาการทางเลือก 5. การถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมของโภชนาการทางเลือก 6. ให้คำปรึกษาและเทคโนโลยีบริการด้านโภชนาการทางเลือก

งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านโภชนาการ บทบาทหน้าที่ 1. กำหนด นโยบายเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคด้านโภชนาการประยุกต์เพื่อสุขภาพร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. กำหนดเกณฑ์การรับรอง อาหารที่มีคุณภาพ 3. พัฒนาระบบและกลไกในการเฝ้าระวังด้านโภชนาการประยุกต์ เพื่อสุขภาพ

4. บริหารจัดการความรู้โภชนาการประยุกต์เพื่อสุขภาพให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ทันต่อกระแส 5. พัฒนาศักยภาพสร้างความเข้าใจเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคด้านโภชนาการประยุกต์เพื่อสุขภาพ 6. เป็นศูนย์ประสานงานและจัดทำความร่วมมือด้านโภชนาการประยุกต์เพื่อสุขภาพกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง