องค์ประกอบที่ 4 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
องค์ประกอบที่ 5 และ 7.3 การส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ และผลลัพธ์การดำเนินงาน ตามเกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC)
องค์ประกอบที่ 3 การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 120 คะแนน 3.1 การจัดการโครงสร้างทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
จังหวัดนครปฐม.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
กลวิธีการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
(ด้านงานอาชีวอนามัย)
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์ประกอบที่ 4 และ 7.2 เกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC)

องค์ประกอบที่ 4 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากร องค์ประกอบที่ 4 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากร 120 คะแนน 4.1 ข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร : โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรใน การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ ด้านสุขภาพและ พฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร 40 คะแนน ให้อธิบายกระบวนการ จัดการข้อมูลและสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพบุคลากรของโรงพยาบาล อธิบายที่มาของข้อมูล ระบบการจัดเก็บข้อมูลสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others 2

คำอธิบายศัพท์ ข้อมูล (Data) : ข่าวสาร ข้อความรูปภาพ เสียง หรืออะไรต่างๆ ที่อยู่ในหลายรูปแบบ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ยังไม่ได้ผ่านการประมวลผล หรือจัดกลุ่มเรียบเรียงอะไรทั้งสิ้น สารสนเทศ (Information) : ข้อมูลที่ได้ผ่านการกลั่นกรอง หรือประมวลผลในรูปแบบหรือกรรมวิธีต่างๆ ที่เหมาะสมและถูกต้อง เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ การจัดการสารสนเทศ (Information Management) : ระบบสารสนเทศที่รวบรวม ประมวล เก็บรักษา และนำไปสู่ความรู้เพื่อการเผยแพร่

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไร ในการได้มาของข้อมูล และ วิธีการจัดเก็บ (A) ข้อมูลด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร (2) โรงพยาบาลมีวิธีการ(A)อย่างไรใน การสื่อสาร (D) ข้อมูล และนำข้อมูลด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร ไปใช้ ในการสนับสนุน (L,I) การดูแลส่งเสริมสุขภาพบุคลากร

แนวทางการให้คะแนนกระบวนการ องค์ประกอบที่ 1 – 6 แนวทางการให้คะแนนกระบวนการ องค์ประกอบที่ 1 – 6 - แสดงให้เห็นว่ามีแนวทางอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิผลที่ตอบสนองต่อข้อกำหนดโดยรวมของหัวข้อ (A) - มีการนำแนวทางไปถ่ายทอดสู่การปฏิบัติเป็นอย่างดี ถึงแม้ว่าอาจแตกต่างกันในบางพื้นที่หรือบางหน่วยงาน (D) - มีกระบวนการประเมินและปรับปรุงอย่างเป็นระบบโดยใช้ข้อมูลจริง และเริ่มมีการเรียนรู้ในระดับโรงพยาบาลรวมถึงการสร้างนวัตกรรมบ้าง เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการที่สำคัญ (L) - มีแนวทางที่สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันกับความต้องการโดยรวมของโรงพยาบาล ตามที่ระบุไว้ในข้อมูลทั่วไปโรงพยาบาลและในเกณฑ์หัวข้ออื่นๆ (I) 50%, 55% 60% หรือ 65% คะแนน Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others 5 5

ตัวอย่าง 4.1 (1)โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไร ในการได้มาของข้อมูล และ วิธีการจัดเก็บ (A) ข้อมูลด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร ข้อมูลสุขภาพของบุคลากรโรงพยาบาลมีการดำเนินการอยู่ 3 ส่วน ส่วนแรกคือ ระบบข้อมูลสารสนเทศของโรงพยาบาล เช่น ข้อมูลการเจ็บป่วย ข้อมูลรักษาพยาบาล ได้มาจากการรวบรวมสถิติการใช้บริการ ซึ่งมีปัญหาว่าข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน กลุ่มงานอาชีวเวชกรรมกำลังดำเนินการจัดระบบและอัพเดทข้อมูลใหม่อยู่ ส่วนที่ 2 คือข้อมูลการตรวจสุขภาพประจำปี ได้จากข้อมูลที่กลุ่มงาน อาชีวเวชกรรมดำเนินการ และจัดเก็บในระบบ Stand Alone ของหน่วยงาน ส่วนที่ ๓ คือข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพบุคลากร กลุ่มงานสุขศึกษาได้ดำเนินการสำรวจปี 2556 เป็นปีแรก โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพเรื่อง 3 อ .ปัจจุบันประมวลผลเสร็จเรียบร้อยแล้ว การจัดเก็บข้อมูลไว้ที่หน่วยงาน และกำลังดำเนินการส่งข้อมูลไปยังคณะกรรมการบริหารและทุกหน่วยงานต่อไป ในส่วนของคณะกรรมการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพจะดำเนินการจัดตั้งคณะทำงานเพื่อรวบรวมและจัดการข้อมูลสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากรอย่างเป็นระบบต่อไป

(2) โรงพยาบาลมีวิธีการ(A)อย่างไรใน การสื่อสาร (D) ข้อมูล และ นำข้อมูลด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร ไปใช้ ในการสนับสนุน (L,I) การดูแลส่งเสริมสุขภาพบุคลากร การสื่อสารข้อมูลสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากรโรงพยาบาลมี 2 รูปแบบ รูปแบบที่ 1 คือ การแจ้งข้อมูลสุขภาพผ่านคณะกรรมการบริหารในลักษณะการรายงานผลการตรวจสุขภาพ หรือผลการเจ็บป่วยของบุคลากร และการประชุมคณะกรรมการฯ รูปแบบที่ 2 คือการประชุมชี้แจงหัวหน้าหรือผู้แทนหน่วยงานเกี่ยวกับผลการตรวจสุขภาพ รวมถึงการให้คะแนนเบื้องต้นในการดูแลสุขภาพ และรูปแบบที่ 3 คือการแจ้งผลเป็นการส่วนตัวให้กับบุคลากรทุกคนที่มารับการตรวจสุขภาพ

ต่อการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร 4.2 กฎระเบียบ ข้อตกลง ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร : โรงพยาบาลมี วิธีการอย่างไรใน การกำหนดกฎระเบียบ ข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับการ ส่งเสริมสุขภาพบุคลากร 40 คะแนน ให้อธิบาย วิธีการกำหนด และถ่ายทอด กฎระเบียบ ข้อตกลง แนวทางการปฏิบัติที่เอื้อ ต่อการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมี วิธีการอย่างไร ในการกำหนด กฎระเบียบ ข้อตกลง (A) ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรขั้นตอนที่สำคัญมีอะไรบ้าง ผู้เกี่ยวข้องมีใครบ้าง (2) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรใน การถ่ายทอด (D) กฎระเบียบ ข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรไปสู่การปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการดำเนินการอย่างครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร(L,I)

ตัวอย่าง 1) โรงพยาบาลมี วิธีการอย่างไร ในการกำหนด กฎระเบียบ ข้อตกลง (A) ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรขั้นตอนที่สำคัญมีอะไรบ้าง ผู้เกี่ยวข้องมีใครบ้าง โรงพยาบาล ฯ มีนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพที่ เกี่ยวกับบุคคล มีการสื่อสารให้บุคลากรทุกคนทราบ ตระหนักและปฏิบัติตามข้อกำหนดของโรงพยาบาล เช่น การตรวจสุขภาพประจำปี การตรวจตามความเสี่ยง การส่งเสริมสุขภาพตามภาวะสุขภาพ และความเสี่ยงของบุคลากร รับการรักษาต่อเนื่อง กำหนดนโยบายสาธารณะเรื่องการขับขี่ปลอดภัยด้วยการคาดเข็มขัดและสวมหมวกนิรภัย การใช้อุปกรณ์ป้องกันความเสี่ยงตามภัยคุกคามขณะปฏิบัติงาน เช่น ด้านการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ มีการอบรมชี้แจงให้เจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลทราบถึงการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของบุคลากร ทั้งด้านภาวะสุขภาพ การปฏิบัติงาน และสิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ปัจจุบันใช้ระบบเชิญชวน ขอความร่วมมือและสมัครใจในการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ

ตัวอย่าง(ต่อ) โรงพยาบาลฯมีข้อกำหนดให้เจ้าหน้าที่ใหม่ที่จะเข้าทำงานในโรงพยาบาลทุกคนต้องมีการตรวจสุขภาพร่างกายก่อนเข้าทงานตามข้อกำหนดที่ระบุไว้ตามตำแหน่งหน้าที่และลักษณะของงาน และมีนโยบายตรวจสุขภาพประจำปีให้กับเจ้าหน้าที่ทุกคน และมีการนำเสนอผลการตรวจสุขภาพประจำปีบุคลากรในภาพรวมของโรงพยาบาลให้กับผู้บริหารและหัวหน้าหน่วยงานทุกหน่วยงานทราบ เจ้าหน้าที่ที่เข้ารับการตรวจสุขภาพจะได้รับใบรายงานผลตรวจสุขภาพรายบุคคล หลังการแจ้งผลการตรวจสุขภาพจะมีการให้คำแนะนาการดูแลสุขภาพเบื้องต้นและส่งพบแพทย์เฉพาะทางกรณีผลการตรวจสุขภาพผิดปกติ มีการทำแบบประเมินความเครียดเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลเพื่อวิเคราะห์สภาวะเครียดของบุคลากรในโรงพยาบาล

(2) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรใน การถ่ายทอด (D) กฎระเบียบ ข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรไปสู่การปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการดำเนินการอย่างครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร(L,I) โรงพยาบาลยังใช้ระบบการสื่อสารแบบหนังสือเวียนและการแจ้งผ่านผู้บังคับบัญชาในการถ่ายทอดกฎระเบียบ ข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพไปสู่ผู้ปฏิบัติ กำลังพิจารณาเพิ่มรูปแบบและช่องทางการถ่ายทอดเพื่อให้เกิดความครอบคลุม เช่น การถ่ายทอดผ่านกลุ่มเฟซบุ๊คของโรงพยาบาล เป็นต้น

4.3 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรโรงพยาบาล : โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการส่งเสริมสุขภาพ 40 คะแนน ให้อธิบายวิธีการพัฒนาทักษะ การเรียนรู้เกี่ยวกับการ ส่งเสริมสุขภาพและ การเสริมพลัง (Empowerment) บุคลากรของโรงพยาบาล อธิบายการวางแผนและวิธีการ วัดผลการจัดกิจกรรมส่งเสริม สุขภาพและปรับปรุงผลการ ดำเนินงานที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ปัญหาและ/หรือ ความต้องการของบุคลากร

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ โรงพยาบาลมีวิธีการ อย่างไรใน การพัฒนาทักษะ การเรียนรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและ การเสริมพลัง (Empowerment) ให้กับบุคลากรของโรงพยาบาล ข้อมูลที่สำคัญในการนำมาวางแผน การพัฒนาทักษะ การเรียนรู้ มีอะไรบ้าง (A) (2) โรงพยาบาลมีวิธีการ (A) อย่างไรในการ จัดกิจกรรม(D)ส่งเสริมสุขภาพบุคลากร ให้สอดคล้องกับปัญหา หรือความต้องการ (I) ของบุคลากร กลุ่มที่มีสุขภาพดี กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย เพื่อให้บุคลากรเป็นแบบอย่าง (L) ด้านการส่งเสริมสุขภาพ

(A,D) ผลการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพบุคลากรที่สำคัญ อะไรบ้าง โดยตอบคำถามต่อไปนี้(ต่อ) (3) โรงพยาบาลมีการกำหนดตัวชี้วัด (A,D) ผลการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพบุคลากรที่สำคัญ อะไรบ้าง (4) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการควบคุมกำกับ การวัดผล (I) และนำผลไปใช้ ในการปรับกระบวนการ (L) ส่งเสริมสุขภาพบุคลากร

ตัวอย่าง (1)โรงพยาบาลมีวิธีการ อย่างไรใน การพัฒนาทักษะ การเรียนรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและ การเสริมพลัง (Empowerment) ให้กับบุคลากรของโรงพยาบาล ข้อมูลที่สำคัญในการนำมาวางแผน การพัฒนาทักษะ การเรียนรู้ มีอะไรบ้าง (A) โรงพยาบาลมีการสร้างความตระหนักในการพัฒนาคุณภาพและการสร้างเสริมสุขภาพ โดยการอบรมการสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม มีการให้ความรู้บุคลากรในโรงพยาบาลเกี่ยวกับการดูแลตนเองเบื้องต้นหลังจากตรวจสุขภาพประจำปี และให้คำแนะนำกับบุคลากรที่ผลตรวจสุขภาพผิดปกติพร้อมทั้งนัดมาเพื่อติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

ตัวอย่าง(ต่อ) มีการจัดทำโครงการพัฒนาเครือข่ายคลินิกโรคจากการทำงานสำหรับบุคลากรโรงพยาบาลฯ ในวันที่ 21 พฤษภาคม 2555 เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคจากการทำงานสำหรับบุคลากรในโรงพยาบาลฯ มีการสอนและสาธิตวิธีการใช้อุปกรณ์ป้องกันความเสี่ยงอย่างถูกวิธี และมีการจัดโครงการและกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพสำหรับบุคลากรของโรงพยาบาล โดยกำหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ผู้บริหารให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ สถานที่ การเป็นตัวอย่างในการส่งเสริมสุขภาพ

2. มีการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพให้กับเจ้าหน้าที่ ผู้ป่วย ญาติ (2) โรงพยาบาลมีวิธีการ (A) อย่างไรในการ จัดกิจกรรม(D)ส่งเสริมสุขภาพบุคลากร ให้สอดคล้องกับปัญหา หรือความต้องการ (I) ของบุคลากร กลุ่มที่มีสุขภาพดี กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย เพื่อให้บุคลากรเป็นแบบอย่าง (L) ด้านการส่งเสริมสุขภาพ 1. มีการรวบรวมกลุ่มที่สนใจในการออกกำลังกายอย่างเดียวกันและจัดตั้งชมรมโดยผู้บริหารโรงพยาบาลให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ สถานที่ ได้แก่ ลานสาหรับเต้นแอโรบิค พร้อมเครื่องเสียง 2. มีการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพให้กับเจ้าหน้าที่ ผู้ป่วย ญาติ ผู้มารับบริการ และประชาชนทั่วไปโดยชมรมแอโรบิค มีสมาชิกประมาณ 50 คน รวมตัวกันเพื่ออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิคทุกวันทำการ เวลา 16.00 –17.00 น. 3. ผู้บริหารมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ เช่น การแข่งขันกีฬาสาธารณสุขทั้งในระดับจังหวัด ระดับเครือข่ายบริการสุขภาพ และในระดับกระทรวง 4. สนับสนุนให้บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพกับองค์กรภายนอกอย่างต่อเนื่อง เช่น การแข่งขันเดิน วิ่งมาราธอน ของชมรม หรือหน่วยงานต่าง ๆ

อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เป็นต้น (3) โรงพยาบาลมีการกำหนดตัวชี้วัด (A,D) ผลการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพบุคลากรที่สำคัญ อะไรบ้าง **เชื่อมโยงกับ 7.2** โรงพยาบาลได้กำหนดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพบุคลากร เช่น บุคลากรเข้ารับการตรวจสุขภาพประจำปี ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 มีการสำรวจและเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ 3อ. อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เป็นต้น

(4) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการควบคุมกำกับ การวัดผล (I) และนำผลไปใช้ ในการปรับกระบวนการ (L) ส่งเสริมสุขภาพบุคลากร คณะกรรมการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต้องเพิ่มบทบาทในการควบคุม กำกับ วัดผลและนำไปใช้ในการวางแผนการส่งเสริมสุขภาพ ในภาพรวมของโรงพยาบาล เพื่อให้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยได้กำหนดให้ปีงบประมาณ 2557 เป็น “ปีแห่งการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร” โดยจะมีการจัดกิจกรรม โครงการให้ครอบคลุมกลุ่มเจ้าหน้าที่ทั้งกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มที่เป็นโรค โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการกำหนดรูปแบบการจัดทำโครงการ

7.2 ผลลัพธ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร : ผลการดำเนินงาน ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเป็นอย่างไร 65 คะแนน สรุปผลการดำเนินงานที่สำคัญในการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรโดยแสดง ผลลัพธ์ด้านพฤติกรรมสุขภาพ บุคลากรและด้านภาวะสุขภาพ รวมทั้งแสดงให้เห็นระดับ แนวโน้ม และการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่เหมาะสม แสดงข้อมูลและสารสนเทศผลลัพธ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร **เชื่อมโยงกับ 4.3 (3)**

หมายเหตุ ผลลัพธ์ที่รายงานในหัวข้อ 7 หมายเหตุ ผลลัพธ์ที่รายงานในหัวข้อ 7.2 เป็นการแสดงผลลัพธ์ของ โรงพยาบาล ตามตัวชี้วัดในองค์ประกอบที่ 4 และผลลัพธ์ที่ควรรายงาน เพิ่มเติม ได้แก่ ภาวะสุขภาพบุคลากร - สมรรถภาพทางกาย - ภาวะเครียด - ไขมันในเลือด ความดันโลหิต น้ำตาลในเลือด - ภาวะโภชนาการ BMI/รอบเอว - การเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน - อุบัติการการเกิดโรคจากการประกอบอาชีพ พฤติกรรมสุขภาพบุคลากร - การบริโภคอาหาร - การออกกำลังกาย - การเลิกบุหรี่ แอลกอฮอล์ - พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ทำปุ่มกดลิ้งไปfile word ของ7.2

แนวทางการให้คะแนน องค์ประกอบที่ 7 - มีการรายงานผลการดำเนินการที่ตอบสนองต่อข้อกำหนดโดยรวมของหัวข้อและผลอยู่ในระดับที่ดี (Le) - แสดงถึงแนวโน้มที่ดีอย่างชัดเจนในเรื่องต่างๆ ที่มีความสำคัญต่อการบรรลุพันธกิจของโรงพยาบาล (T) - ผลการดำเนินการในปัจจุบันบางเรื่องอยู่ในระดับที่ดี เมื่อเทียบเคียงกับตัวเปรียบเทียบ และ/หรือระดับเทียบเคียงที่เหมาะสม (C) - มีการรายงานผลลัพธ์ที่ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของบุคลากร ผู้รับบริการ ครอบครัว ญาติ ชุมชน และกระบวนการเป็นส่วนใหญ่ (I) 50%, 55% 60% หรือ 65% คะแนน Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others 23