ความก้าวหน้าการดำเนินงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 การเผยแพร่ความรู้ และประชาสัมพันธ์ให้กับสาธารณชนทราบ
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
วันพฤหัสบดีที่ 29 มีนาคม 2555 เวลา น
Research Mapping.
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การพัฒนาระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
การกำหนดมาตรฐานอื่นๆ เรื่องโครงสร้างกายภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
จังหวัดลำปาง. จังหวัดลำปาง จังหวัดลำปาง ถ่านหินลือชา รถม้าลือลั่น เครื่องปั้นลือนาม งามพระธาตุลือไกล ฝึกช้างใช้ลือโลก.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
การบูรณาการขับเคลื่อนตามความร่วมมือด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ในภาคกลาง
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
แผนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เขตบริการสุขภาพที่ 5 ประจำปีงบประมาณ 2558
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ระบบการจัดการน้ำบริโภค ของ
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความก้าวหน้าการดำเนินงาน นางสุณี ปิยะพันธุ์พงศ์ รองอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ ความก้าวหน้าการดำเนินงาน ภายใต้บันทึกความร่วมมือด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ระหว่างกรมอนามัยและกรมควบคุมมลพิษ การประชุมสัมมนา “ความก้าวหน้าการดำเนินงานความร่วมมือด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมระหว่างกรมอนามัยและกรมควบคุมมลพิษ ภายใต้แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ” วันที่ 7 สิงหาคม 2556 ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี

5. การพัฒนาศักยภาพให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (1) การให้ความรู้และควบคุมการเผา จัดทำคู่มือแนวทางการบริหารจัดการปัญหามลพิษจากหมอกควันและการเผาในที่โล่งในระดับพื้นที่ ดำเนินงาน “ชุมชนมาตรฐาน หมู่บ้านปลอดการเผา” อบรมให้ความรู้การเฝ้าระวังมลพิษอากาศในพื้นที่นำร่อง เพื่อช่วยกันดูแลการควบคุมการเผาในพื้นที่การเกษตร ไฟป่า การเผามูลฝอยในชุมชน และการเผาวัชพืช

5. การพัฒนาศักยภาพให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (2) การจัดการขยะมูลฝอย ของเสียอันตราย และมูลฝอยติดเชื้อ เสริมสร้างสมรรถนะ อปท. และสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนภายใต้โครงการ “เมืองสวยใส ไร้มลพิษ” (Clean and Green City) สร้างวิทยากรระดับจังหวัดเพื่อเป็นผู้ให้ความรู้ในการบริหารจัดการ ขยะมูลฝอย ของเสียอันตรายจากชุมชน และมูลฝอยติดเชื้อ สำหรับ อปท. จำนวน 188 คน ผลักดันให้ อปท. ดำเนินงานเรื่องศูนย์รวมกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ ทั้งการเพิ่มศักยภาพของศูนย์รวมกำจัดมูลฝอยติดเชื้อที่มีอยู่เดิม และจัดตั้งศูนย์รวมกำจัดมูลฝอยติดเชื้อแห่งใหม่

6. ร่วมกันสื่อสารเพื่อให้สาธารณะตระหนักถึงความเสี่ยงจากเรื่องสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพและ ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติ การสื่อสารเรื่องผลกระทบจากหมอกควันต่อสุขภาพ จัดทำคู่มือการป้องกันตนเองสำหรับ อสม. และประชาชน เผยแพร่ข้อมูลผ่าน สปอตวิทยุ การ์ตูนแอนนิเมชั่น และ วีดิทัศน์การเทศน์ของพระนักพัฒนา โดยออกอากาศในพื้นที่ 9 จังหวัดภาคเหนือ เพื่อให้ประชาชนรับทราบและตระหนัก ถึงความเสี่ยงต่อสุขภาพและมีส่วนร่วม ในการลดการเผา

GREEN & CLEAN Hospital (1) 7. ผลักดันการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและอนามัยภายใต้โครงการนำร่อง GREEN & CLEAN Hospital (1) การจัดการน้ำเสีย ให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลในการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียของโรงพยาบาลให้ได้มาตรฐานน้ำทิ้ง โรงพยาบาลมีการรายงานผลการดำเนินงานของระบบบำบัดน้ำเสียตามกฎกระทรวงมาตรา 80 ร้อยละ 34 จากโรงพยาบาลทั้งหมด 1,238 แห่ง (ขนาด 10 เตียงขึ้นไป) (ข้อมูล ณ เดือนพฤษภาคม 2556)

7. ผลักดันการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและอนามัยภายใต้โครงการนำร่อง GREEN & CLEAN Hospital (2) สำรวจข้อมูลปริมาณของเสียอันตรายและมูลฝอยติดเชื้อ โรงพยาบาลทุกแห่ง อยู่ระหว่างการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของโรงพยาบาล

8. การกำกับดูแลและการติดตามผล แต่งตั้งคณะทำงานของทั้ง 2 กรม คณะทำงานตามความร่วมมือด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ตามคำสั่งกรมอนามัย ที่ 125/2556 ลงวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556 โดยมีนายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย เป็นประธาน มีการประชุมแล้ว 1 ครั้ง คณะทำงานดำเนินงานความร่วมมือด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ตามคำสั่งกรมควบคุมมลพิษ ที่ 412/2555 ลงวันที่ 26 ธันวาคม 2555 โดยมีนางสุณี ปิยะพันธุ์พงศ์ รองอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ เป็นประธาน มีการประชุมแล้ว จำนวน 3 ครั้ง ประชุมคณะทำงานทั้ง 2 ชุดร่วมกัน เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2556 ณ กรมอนามัย

ขอบคุณ