หมวด2 9 คำถาม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
กรอบการนำเสนอ ส่วนที่ 2 สรุปสาระสำคัญ ส่วนที่ 1 ภาพรวม PMQA
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 1ก(1) พันธกิจ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
KM RID Team Work / Team Learning / AAR.
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รายงานการประเมินตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
ตัวชี้วัดที่ 11. ระดับความสำเร็จของ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ (PMQA) หมวด 7 RM 6.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
PMQA Organization คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด6 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
29 พฤษภาคม ความเป็นมา ตัวชี้วัดที่ 2.1 พีรพร พร้อมเทพ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมส่งเสริม การเกษตร.
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
หลักการเขียนโครงการ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ก.พ.ร. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หมวด2 9 คำถาม

หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักไปปฏิบัติ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ การวางแผนยุทธ-ศาสตร์และกลยุทธ์ การนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องมาประกอบการวางแผน เป้าประสงค์เชิงยุทธ-ศาสตร์และกรอบเวลา ในการบรรลุ ความสมดุลระหว่างความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด การจัดทำแผนปฎิบัติการ การนำแผนไปปฎิบัติ รวมทั้งการจัดสรรทรัพยากร การตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลง แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล การคาดการณ์ผลการดำเนินการ เกณฑ์เปรียบเทียบ ที่สำคัญต่างๆ

หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักไปปฏิบัติ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ (13)1 การวางแผนยุทธศาสตร์ 1.1 แผน 4 ปี 1.2 แผน 1 ปี ขั้นตอนและผู้เกี่ยวข้อง กรอบเวลาและเหตุผล กิจกรรมที่สอดคล้องกับกรอบเวลา (14)2 การนำปัจจัยมาประกอบการวางแผนยุทธศาสตร์ 2.1 ปัจจัยภายใน 2.2 ปัจจัยภายนอก ปัจจัยต่างๆ การรวบรวม การวิเคราะห์ (15)3 what ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.1ยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ 3.2เป้าหมายและระยะเวลา 3.3ลำดับความสำคัญของเป้าประสงค์ (16)4 การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ 4.1 แผน 4 ปี 4.2 แผน 1 ปี ดูความท้าทาย ดูความสมดุลของโอกาสระยะสั้นระยะยาว ดูความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (17)5 การนำแผนสู่การปฏิบัติ 5.1 วิธีการถ่ายทอด 5.2 การจัดสรรทรัพยากร 5.3 การทำให้ผลมีความยั่งยืน (18)6 แผนปฏิบัติการ 6.1 what แผนปฏิบัติการที่สำคัญ 6.2 แผนการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง (บริหารความเสี่ยง : RM) จากการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ จากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (19)7 what แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล 7.1 4ปี 7.2 1ปี (20)8 ระบบการวัดผลสำเร็จ 8.1 what ตัวชี้วัดติดตามแผนปฏิบัติการ 8.2การทำระบบการวัดผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการ เพื่อมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน (21)9 what เป้าหมาย 9.1เป้าหมายของตัวชี้วัด 9.2เป้าหมายเปรียบเทียบ RM Individual Score

การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.1 ก (1) หมวด 1(1) HOW 1 การวางแผนยุทธศาสตร์ ขั้นตอนและผู้เกี่ยวข้อง กรอบเวลาและเหตุผล แสดงกิจกรรมที่สอดคล้องกับกรอบเวลา

การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.1 ก (2) · ความต้องการ ความคาดหวัง ทั้งระยะสั้นและระยะยาวของผู้รับบริการ หมวด 3(2) · วิธีการรวบรวมและวิเคราะห์ หมวด 4(4) HOW 2 การนำปัจจัยมาประกอบการวางแผนยุทธศาสตร์ ปัจจัยต่างๆ การรวบรวม การวิเคราะห์

การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.1 ข (3) WHAT ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.1 ยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ 3.2 เป้าหมายและระยะเวลา 3.3 ลำดับความสำคัญของเป้าประสงค์

การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.1 ข (4) ลักษณะสำคัญ (13) (8) HOW 4 การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ ดูความท้าทาย ดูความสมดุลของโอกาสระยะสั้นระยะยาว ดูความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.2 ก (5) หมวด 1(1) หมวด 2(1) HOW 5การนำแผนสู่การปฏิบัติ วิธีการถ่ายทอด การจัดสรรทรัพยากร การทำให้ผลมีความยั่งยืน

การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.2 ก (6) หมวด 2(3) ลักษณะสำคัญ (10) WHAT 6.1 แผนปฏิบัติการที่สำคัญ HOW 6.2 แผนการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง จากการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ จากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.2 ก (6)

การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.2 ก (7) หมวด 5(9) WHAT 7แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล ตอบสนองเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ตอบสนองกลยุทธ์หลัก ตอบสนองแผนปฏิบัติการ

การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.2 ก (8) หมวด 4(1) WHAT 8.1 ตัวชี้วัดติดตามแผนปฏิบัติการ HOW 8.2 การทำระบบการวัดผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการ เพื่อมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน

การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.2 ก (8) HOW 8.2 การทำระบบการวัดผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการ (การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับกรมสู่ระดับสำนัก/กอง) - ความสำเร็จที่ส่วนราชการจัดให้มีระบบการประเมินผลของหน่วยงานระดับสำนัก/กอง เพื่อประโยชน์ในการนำยุทธศาสตร์กรมไปสู่การปฏิบัติ - ส่วนราชการมักระบวนการกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายในระดับสำนัก/กอง ซึ่งเป็นตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายที่ถ่ายทอดมาจากระดับกรม มีการจัดการทำคำรับรองการปฏิบัติราชการระหว่างหัวหน้าหน่วยงานระดับสำนัก/กอง กับหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม รวมถึงมีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของหน่วยงานระดับสำนัก/กอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 เพื่อให้ผลการดำเนินงานของหน่วยงานระดับสำนัก/กอง สนับสนุนเป้าหมายระดับกรม *** ดำเนินการต่อเนื่องจากตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ระดับกรมสู่ระดับสำนัก/กอง เอกสารหลักฐานที่สำคัญ : อย่างน้อยต้องมีหลักฐานที่สำคัญ ดังนี้ 1. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงานระดับ สำนัก/กอง 2. แผนการจัดระบบการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับกรมสู่ระดับสำนัก/กอง (Gantt Chart) 3. แผนที่ยุทธศาสตร์ของกรมต้นสังกัด 4. คำรับรองการปฏิบัติราชการระหว่างกรมต้นสังกัดและสำนัก/กอง 5. ชี้แจงรายละเอียดในคำรับรองการปฏิบัติราชการระหว่างกรมต้นสังกัดและสำนัก/กอง เพื่อสร้างความเข้าใจและนำไปปฏิบัติ 6. รายงานสรุปผลความสำเร็จของการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการระดับสำนัก/กอง(เมื่อสิ้นปีงบประมาณ)

การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.2 ข (9) หมวด 4(2) WHAT 9.1 เป้าหมายของตัวชี้วัด 9.2 เป้าหมายเปรียบเทียบ กับเป้าประสงค์ กับผลการดำเนินการที่ผ่านมา กับผลการดำเนินการที่คาดไว้ของคู่แข่ง กับระดับเทียบเคียงที่สำคัญ