การประเมินเพื่อประกาศเกียรติคุณ โดย แพทย์หญิงเพ็ญศรี กระหม่อมทอง หัวหน้ากลุ่มอนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข บรรยายในการประชุมสัมมนาโรงเรียนเด็กไทยทำได้ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤษภาคม 2549 โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ กรุงเทพฯ
ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โครงการเด็กไทยทำได้ ตัวชี้วัด ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 80 ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการผ่านมาตรฐาน เรื่องอาหารสะอาดปลอดภัย สุขาน่าใช้ และเด็กไทยฟันดี (2,800 โรงเรียน) ร้อยละ75 ของโรงเรียนทุกสังกัดผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ตัวชี้วัดหลัก 1. จำนวนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพที่มีชมรมเด็กไทยทำได้ (3,500 โรงเรียน) 2. ร้อยละ 30 ของโรงเรียนทุกสังกัดผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง 3. ร้อยละ 80 ของเด็กในโรงเรียนประถมศึกษาแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ 4. จำนวนเด็กชั้น ป.1 ที่มีความเสี่ยงเกิดโรคฟันผุบนฟันกรามแท้ซี่ที่ 1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน (300,000 ราย) ตัวชี้วัดรอง
วัตถุประสงค์ของการประเมิน 1. เพื่อจูงใจให้โรงเรียนมีการพัฒนาตาม มาตรฐาน อาหารสะอาดปลอดภัย สุขาน่าใช้ และ เด็กไทยฟันดี 2. เพื่อประกาศเกียรติคุณโรงเรียนที่มีการดำเนินงาน บรรลุมาตรฐาน
ทีมประเมินประกอบด้วย นักวิชาการจากกรมอนามัย ผู้ประสานงานจาก ศูนย์บริการสาธารณสุข กทม.
ประเมินอะไร ทีมประเมินมีบทบาทหน้าที่ในการประเมินโรงเรียน ที่เข้าร่วมโครงการ 2 เรื่อง คือ 1. โรงเรียนผ่านมาตรฐาน “อาหารสะอาดปลอดภัย สุขาน่าใช้ และเด็กไทยฟันดี” 2. มีชมรมเด็กไทยทำได้ที่ทำกิจกรรมครบทั้ง 3 เรื่อง
“โรงเรียนผ่านมาตรฐาน” คำจำกัดความ “โรงเรียนผ่านมาตรฐาน” “โรงเรียนทุกสังกัดที่เข้าร่วมโครงการเด็กไทยทำได้ ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ และ มีการดำเนินงาน ผ่านมาตรฐานทุกข้อ ในเรื่อง อาหารสะอาดปลอดภัย สุขาน่าใช้ เด็กไทยฟันดี และมีชมรมเด็กไทยทำได้ ที่ทำกิจกรรมครบทั้ง 3 เรื่อง”
คำจำกัดความ “ชมรมเด็กไทยทำได้” “กลุ่มนักเรียนที่รวมตัวกันเพื่อทำกิจกรรมด้านสุขภาพ และมีกิจกรรมเรื่อง อาหารสะอาดปลอดภัย สุขาน่าใช้ และเด็กไทยฟันดี ในโรงเรียน”
มาตรฐานอาหารสะอาดปลอดภัย ประกอบด้วยมาตรฐาน “สุขาภิบาลอาหารสำหรับโรงอาหาร 30 ข้อ” จำแนกเป็น 7 หมวด ได้แก่ ก สถานที่รับประทานอาหาร 3 ข้อ ข สถานที่เตรียม-ปรุงอาหาร 4 ข้อ ค อาหาร น้ำ น้ำแข็ง เครื่องดื่ม 7 ข้อ ง ภาชนะอุปกรณ์ 7 ข้อ จ การรวบรวมขยะและน้ำโสโครก 3 ข้อ ฉ ห้องน้ำ ห้องส้วม 2 ข้อ ช ผู้ปรุง ผู้เสิร์ฟ 4 ข้อ
ประกอบด้วยมาตรฐาน 16 ข้อ “สะอาด พอเพียง ปลอดภัย” “สุขาน่าใช้” มาตรฐาน ประกอบด้วยมาตรฐาน 16 ข้อ “สะอาด พอเพียง ปลอดภัย” (Healthy Accessibility and Safety = HAS ) ดังนี้ สะอาด (Healthy) 9 ข้อ พอเพียง ( Accessibility) 2 ข้อ ปลอดภัย ( Safety) 5 ข้อ
มาตรฐาน “เด็กไทยฟันดี” ประกอบด้วยมาตรฐาน 8 ข้อ ซึ่งเป็นตัวชี้วัดของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพทั้งหมด (มีการปรับภาษาเล็กน้อย) ตัวอย่างเช่น “นักเรียนชั้น ป.1-ป.6 ทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก โดยบุคลากรสาธารณสุขหรือครู อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง” (ข้อ 1) “นักเรียนทุกคนได้รับความรู้ เจตคติ และการฝึกทักษะการ แปรงฟันและการดูแลสุขภาพช่องปาก” (ข้อ 7)
ขั้นตอนการประเมินเพื่อประกาศเกียรติคุณ ศูนย์บริการสาธารณสุข กทม.ประสานไปที่สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย โรงเรียนแจ้งความจำนงขอรับการประเมินไปที่ศูนย์บริการสาธารณสุข กทม. ประเมินโรงเรียน และ ชมรม ทีมประเมินกรมอนามัย แจ้งผลการประเมิน / มอบเกียรติบัตร กรมอนามัย
สิ่งสนับสนุน คู่มือการดำเนินงานเด็กไทยทำได้ คู่มือการจัดค่ายเด็กไทยทำได้ คู่มือประเมินโรงเรียน เข็มกลัดนักเรียนแกนนำชมรม เกียรติบัตรโรงเรียนผ่านมาตรฐาน เกียรติบัตรนักเรียนแกนนำ
http://dekthai.anamai.moph.go.th
นอกจากข้อมูลความรู้ที่น่าสนใจแล้ว ในเว็บเด็กไทยมีรางวัลมากมาย เช่น เว็บไซด์นี้มีอะไร นอกจากข้อมูลความรู้ที่น่าสนใจแล้ว ในเว็บเด็กไทยมีรางวัลมากมาย เช่น ลงทะเบียนชมรมรับรางวัล 30 ชมรมแรก รับ เจลล้างมือ (48 หลอด) แปรงสีฟัน (144 อัน) ยาสีฟัน (216 หลอด) 70 ชมรมต่อไป รับ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน (จำนวนเท่ากัน) (ส่งทันทีถึงโรงเรียนถ้าข้อมูลชมรมครบถ้วน)
ประกวดเรื่องเล่าความสำเร็จ ชิงรางวัล เว็บไซด์นี้มีอะไร ประกวดเรื่องเล่าความสำเร็จ ชิงรางวัล "Story of the month" เรื่องที่ชนะใจกรรมการ รับเสื้อสวย 10 ตัวสำหรับแกนนำชมรม อีก 2 ตัวสำหรับครูที่ปรึกษา และ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ดูแลโรงเรียน
ดูรายละเอียดในเว็บไซด์ เว็บไซด์นี้มีอะไร โรงเรียนซื้อสุขภัณฑ์ราคาพิเศษ คอตโตมอบสุขภัณฑ์ฟรีแก่โรงเรียน ดูรายละเอียดในเว็บไซด์
บ ณ ข คุ อ