การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (echocardiography)ผ่านผนังทรวงอกในผู้ป่วยเด็ก L047 การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจ ด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
Lean Health Care Lean. คือ. TQM. โดยการกำจัด Waste
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
การตรวจสอบระบบบริหารคุณภาพภายใน
L051 ชื่อเรื่อง / โครงการ หัวหน้าทีม ชื่อ...นางสาวสุรีรัตน์ นามสกุล...ช่วงสวัสดิ์ศักดิ์ สมาชิกทีม ชื่อ...น.ส.จารุวรรณ... นามสกุล..เหล่านรินทวุฒิ
หมุนเวียนใช้หมดก่อน Expire
การประยุกต์ใช้ในงานบริการสุขภาพ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
Lean & PCT อายุรศาสตร์ พงศ์ศักดิ์ ด่านเดชา.
ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์
โครงการ Lean เรื่องกระบวนการรับเวร-ส่งเวร
โดย นางภารดี เจริญวารี
หน่วยตรวจพิเศษหัวใจและหลอดเลือด ศูนย์โรคหัวใจฯ ชั้น 6
การสมัครงานออนไลน์ (E-Application)
Nursery ก็ลดโลกร้อนได้
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
A3 PROBLEM REPORT A3 PROBLEM SOLVING พญ. พัชร์จิรา เจียรณิชานันท์
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
Siriraj Lean day วันศุกร์ 11 มีนาคม 2554
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
TQM M4 แจ้งวัฒนะ - ราชพฤกษ์.
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง

และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
การบริหารจัดการค่าย เพื่อให้เกิดความสะดวก มี ความพร้อม ไม่เกิดความเสี่ยง ต่างๆ และเพื่อให้การดำเนินค่ายบรรลุ เป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI )
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
แบบประเมินความเสี่ยงและการควบคุม
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (echocardiography)ผ่านผนังทรวงอกในผู้ป่วยเด็ก L047 การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจ ด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (echocardiography) ผ่านผนังทรวงอกในผู้ป่วยเด็ก หัวหน้าทีม นางวิภาวิน วัฒนะประการชัย ผู้ร่วมทีม แพทย์หญิงชดชนก วิจารสรณ์ นางกาญจนา หวานสนิท นางสาวศิรินธร ถือแก้ว นายสุรเชษฐ์ วงษ์พลบ ผู้ประสาน นางวิภาวิน วัฒนะประการชัย ศูนย์โรคหัวใจฯ ชั้น 6 โรงพยาบาลศิริราช โทร 02-419-6069

2. ขอบเขตของเรื่อง/โครงการ (SIPOC) Supplier/ Providers Inputs Process Output Customer -พยาบาล -ผู้ช่วยพยาบาล -ผู้ปฏิบัติงานบริหาร เครื่อง echocardiography เครื่องคอมพิวเตอร์ จุดเริ่มต้น เวลานัดหมาย จุดสิ้นสุด รับใบนัด F/U ครั้งต่อไป เจ้าของ นางวิภาวิน วัฒนะประการชัย ผู้สนับสนุน หัวหน้าหอผู้ป่วย ไม่มีอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนที่สามารถป้องกันได้ ระยะเวลาการรับบริการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง ลดลง ลูกค้าภายนอก -ผู้ป่วย ลูกค้าภายใน -แพทย์

3. Current Value Stream เข้าห้องตรวจ กลับบ้าน นัดผู้ป่วย เวลา 13.00 น. เตรียม ความพร้อม ลงทะเบียน Intra Procedure Pre Procedure คัดกรอง ตรวจสิทธิ์ รับใบเสร็จ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัด O2 Sat ที่ OPD เจ้าฟ้า 1 รับ ใบนัด แพทย์ให้ข้อมูล ผลการตรวจ/แนวทางการรักษาแก่ผู้ปกครอง บางรายมีการตรวจเพิ่ม เช่น วัด O2 Sat, CXR, EKG, BP 4extremities เข้าห้องตรวจ -แพทย์ตรวจ -มีการconfirm บางราย -บางรายให้ยา Chloralhydrate รับยา แพทย์รายงาน ผลการตรวจ กลับบ้าน Post Procedure ไม่ตรวจเพิ่ม

4. Waste ( DOWNTIME) หัวข้อ ความสูญเปล่า Defect rework: ทำงานซ้ำเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง เอกสารสิทธิไม่สมบูรณ์ ต้องนัดตรวจใหม่ Overproduction: การผลิตหรือให้บริการมากเกินจำเป็น Waiting: การรอคอย เด็กหลับช้าเมื่อถึงเวลาที่ต้องให้รับประทานยานอนหลับจริงๆ แพทย์เสียเวลารอ Not using staff talent: ภูมิรู้ที่สูญเปล่า ไม่มีการคัดกรอง และการระบุตัวผู้ป่วยเพื่อการดูแลรักษาที่เป็นระบบชัดเจน Transportation: การเดินทาง Inventory: วัสดุคงคลัง Motion: การเคลื่อนไหว Excessive processing:ขั้นตอนมากเกินจำเป็น

5. แผนภูมิสายธารแห่งคุณค่า(VSM) / Flow (หลังปรับปรุง) นัดผู้ป่วย เวลา 13.00 น. เตรียม ความพร้อม ลงทะเบียน Intra Procedure Pre Procedure คัดกรอง ตรวจสิทธิ์ รับใบเสร็จ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัด O2 Sat ที่ OPD เจ้าฟ้า 1 รับ ใบนัด แพทย์ให้ข้อมูล ผลการตรวจ/แนวทางการรักษาแก่ผู้ปกครอง บางรายมีการตรวจเพิ่ม เช่น วัด O2 Sat, CXR, EKG, BP 4extremities เข้าห้องตรวจ -แพทย์ตรวจ -มีการconfirm บางราย -บางรายให้ยา Chloralhydrate รับยา แพทย์รายงาน ผลการตรวจ กลับบ้าน Post Procedure ไม่ตรวจเพิ่ม

6. สรุปการดำเนินการด้วย Lean A3 Report

6.1 เหตุผลการทำ (Reason for Action) การตรวจเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่ อายุ < 3 ปี มักไม่ร่วมมือ - ต้องให้ยานอนหลับ - ต้องดูแลอย่างใกล้ชิด การประเมินจากการเยี่ยมสำรวจภายในของงานพัฒนาคุณภาพ โอกาสพัฒนาของหน่วยงาน คือ การพิจารณาทบทวนจัดทำมาตรฐานของกระบวน การดูแลรักษา เด็กที่รู้เรื่องและไม่ได้ให้ยา - มีความกลัว - ไม่คุ้นเคย - ไม่ไว้วางใจคนแปลกหน้า สร้างสัมพันธภาพ และเบี่ยงเบน ความสนใจโดยใช้ ของเล่นตามวัย

6.2 สภาพการณ์ปัจจุบัน (Initial State) เวลาในการรับบริการนานขึ้น เฉลี่ย 190 นาที นับตั้งแต่เวลานัดหมายจนกระทั่ง จำหน่ายออกจากหน่วยตรวจ เด็กจะร้องไห้ งอแง เพราะความหิว ความกลัว เด็กไม่ให้ความร่วมมือ ต้องให้ยานอนหลับเพิ่ม ใช้เวลาในการรับบริการนาน บางรายไปนัด follow up คลินิกโรคหัวใจเด็ก หรือนัดฉีดสี (cardiac catheterization) ไม่ทัน ขาดมาตรฐานของการปฏิบัติงานในกระบวนการที่สำคัญ

6.3 เป้าหมาย (Target state) 1. ลดระยะเวลาการรับบริการตรวจ 2. ไม่มีอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนที่สามารถป้องกันได้ 3. ระบุตัวผู้ป่วยเด็กถูกต้อง ถูกคน 4. ผลการตรวจถูกต้อง ถูกคน

6.4 การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (Gap Analysis)

6.5 แนวทางในการแก้ไข (Solution Approach) สาเหตุ: Root cause addressed แนวทางแก้ไข: Proposed solution วัตถุประสงค์: Supports Objective 1.ผู้ปกครองขาดความรู้ความเข้าใจในการ เตรียมความพร้อมทั้งตัวเด็กและสิทธิ ประโยชน์ก่อนตรวจรักษา 2.ผู้เชี่ยวชาญไม่เพียงพอให้บริการ 3.ระบบการทำงานไม่ชัดเจน มีโอกาสเกิด ความบกพร่องในปฏิบัติงานได้ 4.เครื่องมือและอุปกรณ์ไม่พร้อมใช้ 1.สร้างมาตรฐานการให้ข้อมูล 2. เพิ่มศักยภาพของบุคลากรในการการ ปฏิบัติงาน 3. สร้างมาตรฐานการปฏิบัติงาน 4. ระบบตรวจสอบและซ่อมบำรุงครื่องมือ ผู้ป่วยมีความพร้อมทำการตรวจ บุคลากรพร้อมให้บริการตามความ ต้องการของผู้ป่วย ลดอุบัติการณ์/ความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้น มีเครื่องมือพร้อมใช้

6.6 การดำเนินการแก้ปัญหา (Solution Experiments) แนวทางแก้ไข: Solution การปฏิบัติ: Actual ว.ด.ป. ที่เริ่มทำ: Date โดยใคร: By ผลลัพธ์: Result สรุปความก้าวหน้าของการทำงาน: Conclusion 1.สร้างมาตรฐานการให้ข้อมูล 2. เพิ่มศักยภาพของบุคลากรใน การการปฏิบัติงาน 3. สร้างมาตรฐานการปฏิบัติงาน 4. ระบบตรวจสอบและซ่อม บำรุงครื่องมือ 1.ให้ข้อมูลการเตรียมตัวเด็กเพื่อการตรวจ 2.ให้ข้อมูลการเตรียมเอกสารในการใช้สิทธิการ รักษา พัฒนา competency ของบุคลากร 1. สร้างระบบคัดกรองและจำแนกประเภทผู้ตรวจ ให้เหมาะสมกับ case 2. จัดทำแนวทางการให้ยานอนหลับสำหรับเด็ก 3. มี Pediatric echo. Manager 1. มีระบบการจัดการเครื่องมือราคาแพง 1 ก.พ.2552 วิภาวิน สุเชาวนี กาญจนา วันดี ลดเวลาการตรวจ Ped. Echo เพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร การทำงาน มีความคล่องตัว มีมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ชัดเจน มีเครื่อง Echo. พร้อมใช้งาน จัดทำเป็นมาตรฐานในการปฏิบัติงานประจำ

ระยะเวลาการรับบริการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง ผ่านผนังทรวงอกในผู้ป่วยเด็ก เป้าหมาย 150 นาที หลังพัฒนา เวลา (นาที) เดือน - ปี

กิจกรรมสำคัญที่ทำ: Outstanding Actions ผู้รับผิดชอบ: By Whom วันที่ทำ: By Date สรุปและรายงานผลการดำเนินการ ติดตามและประเมินผลการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง วิภาวิน สุเชาวนี พฤษภาคม 2552

การเรียนรู้ที่ได้รับ : ปัจจัยแห่งความสำเร็จ นโยบายและการสนับสนุนจากผู้บริหาร ความรู้ ความเข้าใจใน Lean concept Teamwork ที่ดี โอกาสพัฒนา 1. บุคลากรสับสนในแนวทางการทำงานที่ปรับใหม่ 2. บุคลากรคิดว่าโครงการนี้เพิ่มภาระงาน