กระบวนการศึกษา ๑.รู้ ๔.นิสัยดี ๕.บุญ ๓.ปฏิบัติ ๒.เข้าใจ คำสอน จากครูดี what ๔.นิสัยดี ๕.บุญ ๓.ปฏิบัติ How ๒.เข้าใจ Why
การศึกษา
นิสัยดีพื้นฐาน วินัย คือ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่ห้าม ที่อนุญาติ วางไว้เป็นหลักปฏิบัติ เพื่อความสงบเรียบร้อยดีงามของตนเอง และหมู่คณะ สัญลักษณ์นิสัยของวินัย คือ ข้าวตอก เพราะเมื่อข้าวตอกเมื่อโดน ความร้อนแล้วจะกระโดดแตกตัวก่อน ถ้าไม่แตกตัวก็จะเป็นข้าวตก นิสัยมีวินัย คือ มีปกติรักการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับที่กำหนดไว้ด้วยความเต็มใจ
นิสัยมีวินัยที่ต้องรีบฝึก ๔ ด้าน วินัยว่าด้วยวิธีการแสดงความเคารพ เช่น การไหว้ , มารยาท วินัยว่าด้วยความสะอาด เพราะที่ไหนมีความสกปรก ที่นั่นมีการจับผิด ดูถูก ดูหมิ่น ถ้าระดับเดียวกันก็จะทำงานเกี่ยงกัน ๓ วินัยความเป็นระเบียบ เช่น การใช้ของ ยืมของ ๔ วินัยว่าด้วยการตรงต่อเวลา เช่น การเข้าเรียน ดังนั้นมีวินัย ๔ อย่างนี้แล้วอย่างอื่นว่าไปตามวาระแล้วจะได้เอง
เคารพ คือ ความเปิดใจ เพื่อค้นหาคุณความดีที่มีอยู่จริงในบุคคล วัตถุ เหตุการณ์ เมือพบแล้วก็ยอม ก็รับ ก็นับและก็ถือปฏิบัติตามคุณความดีนั้นๆ สัญลักษณ์ความเคารพคือ ดอกมะเขือ
คือ มีนิสัยรังเกียจการจับผิด ชอบจับจ้องมองดูแต่ความถูกต้อง นิสัยมีความเคารพ คือ มีนิสัยรังเกียจการจับผิด ชอบจับจ้องมองดูแต่ความถูกต้อง ความดีของทุกคน ทุกสิ่งและทุกเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้อง เมื่อพบแล้วก็ยอม-รับ-นับ-ถือ และประพฤติ ปฏิบัติต่อบุคคล วัตถุและเหตุการณ์นั้นๆ อย่างเหมาะสมจนความถูกต้อง ความดีงามนั้นๆ เกิดขึ้นในตนนั้นด้วย
ความเคารพที่ต้องรีบฝึก เคารพพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เคารพพ่อ แม่ ครู อาจารย์ เคารพการศึกษา เคารพสมาธิ เคารพความไม่ประมาท เคารพการปฏิสันถาร
อดทน คือ ความยืนหยัดไม่ท้อถอยในการทำความดี ไม่ว่าจะมีอุปสรรคใดๆ สัญลักษณ์นิสัยความอดทนคือ หญ้าแพรก
ถูกบีบคั้น ก็ต้องอดทน ไม่ยอมล้มเลิก ลักษณะความอดทน ถูกบีบคั้น ก็ต้องอดทน ไม่ยอมล้มเลิก ถูกยั่วยุ เย้ายวนให้ลุ่มหลง ก็ต้องอดใจ นิสัยอดทน คือ นิสัยไม่ท้อถอยในการประกอบคุณงามความดีทุกชนิด จึงทำให้เป็นผู้ไม่เคยล้มเลิกการทำความดีกลางคันทุกกรณี
ความอดทนที่ต้องรีบฝึก อดทนต่อความลำบากตรากตรำ ทนแดด-ลม-ฝน อดทนต่อทุกข์เวทนา ทนโรค-ภัย-ไข้-เจ็บ อดทนต่อความเจ็บใจ ทนกระทบ-กระทั่ง อดทนต่อความยั่วยุ เย้ายวน ทนกิเลส อบายมุขต่างๆ
“จะเอาศีลธรรมนำหน้า วิชาการตามหลัง” การจัดการศึกษาสมัยก่อน “จะเอาศีลธรรมนำหน้า วิชาการตามหลัง” ในสมัยก่อนใครจะร่ำเรียนอะไรครูอาจารย์ ท่านจะฝึกนิสัยให้ก่อน เมื่อมีนิสัยได้มาตรฐานแล้ว ถึงจะถ่ายทอดความรู้ให้
สรุปกระบวนการปลูกฝังมาตฐานคุณธรรม ต้องเริ่มจาก ๑.คำนิยาม What ๒.เหตุผล Why ๓.วิธีการ How
คำนิยาม เหตุผล วิธีการ ตามหลักวุฒิธรรม ๔ (ปัญญาวุฒิธรรม) คำนิยาม เหตุผล วิธีการ What why how การดำเนินงาน เชื่อใจตรงกัน มาตรฐาน หลักการ/ทฤษฏี
วิธีการปลูกฝังคุณธรรม (เริ่มจากการปลูกฝังนิสัย) ๑.ผ่านสื่อบุคคล ๒.ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ ๑.๑ ในชั้นเรียน ตีกอบความประพฤติ สอนด้วย what, why, how ๑.๒ นอกชั้นเรียน ๓.ผ่านสื่อการเรียนการสอน ๔.ผ่านจากตัวกฏระเบียบ
ความสำเร็จการฝึกนิสัย ๒.มีงาน+อุปกรณ์ ๓.เข้าใจวัตถุประสงค์ งาน นิสัยที่ปลูกฝัง ๑.มีครูดี การฝึกนิสัย ๕.ทำงานให้ดีพร้อม ๔.มีเจตนาถูกต้อง จากการทำงาน