แผงวงจรพ่วง (Peripheral Board)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Advertisements

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Combination Logic Circuits
ลอจิกเกต (Logic Gate).
ใบความรู้ 3 ระบบคอมพิวเตอร์.
โปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
ผลกระทบของแรงดันอินพุตออฟเซ็ตต่อวงจรขยาย
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
อุปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบไร้สาย Wireless Electrocardiogram
โครงการเครือข่ายไฟจราจรอัจฉริยะ Intelligent Traffic Light Network
โครงการจัดทำข้อมูลผ่านเว็บไซต์
PC Based Electrocardiograph
นำหลอดไฟ LED มาตัดขา โดยที่ตัดครึ่งหนึ่งของขาลบ (วัดจากเส้นสีแดง) ก่อน ในรูป จะเห็นเส้นขีดสองขีดให้เริ่มตัดจากเส้นสีดำ.
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
ช่างสถานีไฟฟ้าย่อย หน่วยไฟฟ้า งานซ่อมบำรุง
และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
ไมโครคอนโทรลเลอร์เบื้องต้น
ไมโครคอนโทรลเลอร์เบื้องต้น
การบัดกรีชิ้นงานอิเล็คทรอนิคส์
ชุดทดลองวงจรและ เครื่องมือวัดพื้นฐาน
การสร้างวงจรต้นแบบ (Circuit Prototyping)
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก(อี
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การใช้บอร์ดควบคุมสำหรับ Robot 35 in 1
Basic Programming for AVR Microcontroller
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
เป็นไอซี ที่นิยมใช้กันมากในการนำ ไปสร้างสัญญาณรูปคลื่นแบบต่างๆ
ดิจิตอลเทคนิค 2 (3) (Digital Techniques)
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
บทที่ 7 Deadlock Your company slogan.
เครื่องโปรเจคเตอร์PROJECTOR
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
Electronics for Analytical Instrument
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
บุคลากรคอมพิวเตอร์.
กฤษ เฉยไสย ธวัตชัย สิ้นภัย ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยขอนแก่น
องค์ประกอบ ระบบสื่อสาร ข้อมูล. จัดทำโดย นายพีรพัฒน์ปาคำ ม.4/1 เลขที่ 3 นางสาวจามจุรีเขียวสอาด ม.4/1 เลขที่ 40 เสนอ อาจารย์ กรกนก เตชะชัย โรงเรียนน่านนคร.
ปัญหาที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 รหัสวิชา ง 31101
การแก้ไขปัญหาทั่วไป จัดทำโดย นายจักรี จิระกิตติวุฒิ เลขที่ 13 นายจิรายุส สมวงค์อินทร์ เลขที่ 14 นายชนาธิป สมฟอง เลขที่ 15 นายชาญณฤทธิ์ มโนปัญญา เลขที่
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
หน้าที่และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
Software จัดทำโดย นางสาวนรีกานต์ ซองเงิน ชั้น ม.4/13 เลขที่ 38 โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
 นายรังสิมันตุ์ เรืองไรลักษมี ปวช.1c เลขที่ 1  นายศุภกฤต อินทญาติ ปวช.1c เลขที่ 13  นายสรวิศ ปงจันตา ปวช.1c เลขที่ 17  นายสรวิศ พินิจประชารมย์ ปวช.1c.
บทที่ 6 IPST-BOT กับการหลบหลีก สิ่งกีดขวางแบบสัมผัส
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.
ปัญหาของซอฟแวร์และฮาร์ดแวร์. ปัญหาฮาร์ดแวร์ 1. เมื่อไฟดับจะเปิดคอมพิวเตอร์ไม่ได้ สาเหตุ ไม่สามารถเริ่มต้นการทำงานของระบบ วิธีแก้ไข กดปุ่มเพาเวอร์ค้างไว้ไม่ถึง.
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
แผงวงจรพ่วง (Peripheral Board)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผงวงจรพ่วง (Peripheral Board) ปฏิบัติการเกี่ยวกับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (01204223) ผศ.ดร.ชัยพร ใจแก้ว ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

แผงวงจรพ่วง จุดเชื่อมต่อกับเมนบอร์ด วงจรแสดงผล LED สามสี วงจรสวิตช์อินพุท วงจรวัดแสง

วงจรแสดงผล LED สามสี เชื่อมเข้ากับขา PC0..PC2 การใช้งาน: ตั้งค่ารีจีสเตอร์ DDRC ให้ขา PC0..PC2 เป็นเอาท์พุท เขียนลอจิก 1 ในบิตของรีจีสเตอร์ PORTC เพื่อให้ไฟติด เขียนลอจิก 0 ในบิตของรีจีสเตอร์ PORTC เพื่อให้ไฟดับ

วงจรสวิตซ์อินพุท ต่อกับขา PC3 การใช้งาน: ตั้งค่ารีจีสเตอร์ DDRC ให้ขา PC3 เป็นอินพุท เขียนลอจิก 1 ลงที่บิต PC3 ของรีจีสเตอร์ PORTC เพื่อเปิดใช้งาน pull-up resistor อ่านค่าบิต PC3 ของรีจีสเตอร์ PINC เพื่อตรวจสอบสถานะของสวิตช์

กลไกของวงจร I/O ภายในชิป รูปจากหน้า 76 ของดาต้าชีต ATmega48/88/168 (doc8161.pdf)

แบบฝึกหัด เขียนเฟิร์มแวร์เพื่อรายงานสถานะการกดสวิตช์ออกมาทาง LED สีแดง

แบบฝึกหัด เขียนเฟิร์มแวร์เพื่อนับจำนวนครั้งการกดสวิตช์ โดยแสดงจำนวนครั้งบน LED สามดวง เริ่มต้น กดแล้วปล่อยสวิตช์ กดแล้วปล่อยสวิตช์ กดแล้วปล่อยสวิตช์ กดแล้วปล่อยสวิตช์ : :

จังหวะที่สวิตช์ถูกกด (หรือปล่อย) Contact Bounce เกิดจากหน้าสัมผัสกระเพื่อมขณะกดหรือปล่อยสวิตซ์แบบกลไก ลอจิก จังหวะที่สวิตช์ถูกกด (หรือปล่อย) 1 เวลา

วิธีแก้ไข Contact Bouncing แก้ไขทางฮาร์ดแวร์ ใช้วงจร RC กรองสัญญาณ ความถี่สูงออก แก้ไขทางซอฟต์แวร์ เพิ่มคำสั่งหน่วงเวลาสั้น ๆ เมื่อตรวจสอบได้ว่าสวิตช์มีการเปลี่ยนสถานะ

วงจรวัดแสง เชื่อมกับขา PC4 ใช้ตัวต้านทานแปรค่าตามแสง (Light Dependent Resistor หรือ LDR) ผสมกับวงจรแบ่งแรงดัน สัญญาณที่ขา PC4 เป็นสัญญาณประเภทแอนะล็อก การใช้งานต้องอ่านค่าแรงดันจาก PC4 แบบแอนะล็อก

สัญญาณดิจิทัลและสัญญาณแอนะล็อก 0V 5V 1 บันทึกข้อมูลแบบ ดิจิทัล 2 ระดับ (1 บิต) 1 สัญญาณแอนาล็อก 0V 5V 1023 บันทึกข้อมูลแบบ ดิจิทัล 1023 ระดับ (10 บิต)

แบบฝึกหัด อ่านความเข้มแสงจากขา PC4 ตีความผลลัพธ์เป็น 8 ระดับ (0-7) นำระดับที่ตีความได้มาแสดงผลบน LED ในรูปเลขฐานสอง (ไบนารี) 3 บิต แนวทาง: นำบิต 9..7 จากผลลัพธ์ ADC มาแสดงผล