เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า จัดทำโดย นายอนันต์ คงเกตุ โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช
หน่วย เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1 นักเรียนสามารถใช้มัลติมิเตอร์ได้ 1.1 นักเรียนสามารถใช้โอห์มมิเตอร์ได้ 1.2 นักเรียนสามารถใช้ เอซี ดีซี โวลท์มิเตอร์ได้
ความคิดรวบยอด การเรียนรู้และปฏิบัติงานทางช่างไฟฟ้า การตรวจสอบอุปกรณ์และวงจรจำเป็นต้องใช้เครื่องมือวัด เครื่องมือวัดที่เป็นพื้นฐานในการปฏิบัติงานคือ โอห์มมิเตอร์ โวลท์มิเตอร์และแอมป์มิเตอร์เมื่อสามารถนำไปใช้งานได้ถูกต้อง การปฎิบัติงานจะเพิ่มคุณภาพมากยิ่งขึ้น
การใช้โอห์มมิเตอร์ 1 เสียบสายมิเตอร์ให้ถูต้อง แดง + ดำ – 1 เสียบสายมิเตอร์ให้ถูต้อง แดง + ดำ – 2 หมุนลูกบิดเลือกค่าที่จะทำการวัดในตำแหน่ง โอห์ม 3 นำปลายสายของมิเตอร์มาแตะกัน ปรับปุ่ม 0ΩADJ ให้เข็ม มิเตอร์ชี้ตำแหน่ง o Ω ก่อนทำการวัด 4 ทำการวัดอุปกรณ์ อ่านค่าบนหน้าปัดสเกล Ω 5 อ่านได้ค่าเท่าไร คูณด้วยค่าของลูกบิด ตอบหน่วยเป็น Ω 6 การบันทึกผลปฏิบัติใช้โอห์มมิเตอร์
เสียบสายมิเตอร์ให้ถูกต้อง แดง + ดำ – เสียบสายมิเตอร์ให้ถูกต้อง แดง + ดำ –
หมุนลูกบิดเลือกค่าที่จะทำการวัดในตำแหน่ง โอห์ม Ω
นำปลายสายของมิเตอร์มาแตะกันปรับปุ่ม 0ΩADJ ให้เข็มมิเตอร์ชี้ตำแหน่ง o Ω ก่อนทำการวัด
ทำการวัดอุปกรณ์ อ่านค่าบนหน้าปัดสเกล Ω
อ่านค่าบนหน้าปัดได้เท่าไร คูณด้วยค่าของลูกบิด อ่านค่าบนหน้าปัดได้ 20 โอห์ม ตั้งค่าลูกบิด R X 10 ค่าที่ได้ คือ 20 X 10 =200 Ω
การบันทึกผลปฏิบัติใช้โอห์มมิเตอร์ อุปกรณ์ที่ใช้วัด ตั้งค่าลูกบิด อ่าค่า Ω บน หน้าปัด ค่าที่ได้จริงมีหน่วยเป็น Ω หมายเหตุ เกณฑ์การประเมิน ถูกต้องเท่ากับ 10 ผิดพลาด ± 1 เท่ากับ 8 ผิดพลาด ± 2 เท่ากับ 6 ผิดพลาด ± 3 เท่ากับปรับปรุงให้ปฏิบัติใหม่
ตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน ถูกต้อง