รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สีของผ้าที่ทำให้เหงื่อตกได้
Advertisements

โครงงานคอมพิวเตอร์.
สมดุลเคมี.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ชนิด ความเข้มข้นและการเตรียม
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่องความเข้มข้นของสารละลาย
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
การทดลอง วัดปริมาตรของน้ำ
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
Laboratory in Physical Chemistry II
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ตัวอย่าง Flowchart.
โดย... รัชนก พรหมจันทร์และคณะ หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 2 และ RCU
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การปลูกพืชผักสวนครัว
ปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน (esterification)
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
การทดลองที่ 5 Colligative property
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
เครื่องจ่ายน้ำยาเคมี (Anionic Polymer)
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
การวางแผนและการดำเนินงาน
(Sensitivity Analysis)
การตวง ความหมายของการตวง -    การตวง    คือ    การวัดปริมาณของสิ่งของต่างๆหรือหาความจุของภาชนะต่างๆ เครื่องตวง -    เครื่องที่เป็นมาตรฐาน    เช่น   
แบบฝึกหัดการเตรียมสารละลาย
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
จากการสังเกต นำไปสู่คำถามวิจัย นำไปสู่สมมติฐาน
- Research Questions - Hypothesis & Testing Hypothesis
ตอนที่ 1 การเตรียมแก๊ส NO2
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ตัวแปรต้น 2. ตัวแปรตาม 3. ตัวแปรควบคุม การกำหนดและควบคุมตัวแปร.
ดังนั้นในสารละลายมี H3O+ = 5x10-5 mol
การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่
ชุดวิชา : การประเมินแรงม้าเครื่องจักร
การเขียนรายงานการวิจัย
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
การปลูกพืชผักสวนครัว
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการแก้ปัญหา
มหัศจรรย์ ... กระดาษแสนกล
Processor Quality Control (การควบคุมคุณภาพการล้างฟิล์ม)
ซ่อมเสียง.
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
การชั่งและตวง ครูปนัดดา เปียถนอม.
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
กาวมหัศจรรย์จาก.. โฟม.
ปฏิบัติการเรื่อง การกลั่น
กิจกรรมพื้นฐานทางเคมี
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
การเตรียมยาในโรงพยาบาล
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
Department of Food Engineering
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ปฏิบัติการเรื่อง การสกัดของเหลวด้วยของเหลว Liquid – Liquid Extraction
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ปฏิบัติการเรื่องการแช่แข็ง
1 การผลิตเอทานอลและกรด อินทรีย์ จากลำไยอบแห้ง  นางสาวฐิติพร กัน จันวงศ์  นายณัฐพงษ์ กาละปัน  อ. ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ รหัสโครงการ R50D01001.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง 1. ชื่อการทดลอง 5. วัสดุอุปกรณ์ 2. วันที่ทำการทดลอง 6. วิธีการทดลอง 3. วัตถุประสงค์ 7. บันทึกผลการทดลอง 4. กำหนดตัวแปร 8. วิเคราะห์ผลการทดลอง ตัวแปรต้น 9. สรุปผลการทดลอง ตัวแปรตาม 10. คำถามท้ายการทดลอง ตัวแปรควบคุม

การทดลอง 4.1 การเตรียมสารละลาย จุดประสงค์การทดลอง คำนวณหามวลของตัวละลาย เพื่อใช้เตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้นและปริมาตรตามต้องการได้ เตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้นและปริมาตรตามต้องการได้

การทดลอง 4.1 การเตรียมสารละลาย ตอนที่ 1 - คำนวณสารตามคำสั่งที่ได้รับ 0.1 mol/dm3 - ชั่งสารตัวอย่างตามปริมาณที่คำนวณได้

ละลายสารตัวอย่างในบีกเกอร์แล้วคนด้วยแท่งแก้วจนสาร ละลายหมด

เทสารละลายลงในขวดวัดปริมาตร

ล้างบีกเกอร์ด้วยน้ำกลั่น

ตั้งขวดวัดปริมาตรเพื่อให้สารละลายมีอุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมิห้อง

เติมน้ำกลั่นทีละน้อยจนถึงขีดบอกปริมาตร

ให้ส่วนโค้งต่ำสุดของสารละลายอยู่ตรงขีดบอกปริมาตร

คำถามท้ายการทดลอง(ตอนที่ 1) ในการเตรียมสารละลาย เหตุใดจึงไม่เติมน้ำกลั่นให้ถึงขีดบอกปริมาตรในครั้งเดียว ถ้าต้องการเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นเท่าเดิม แต่มีปริมาตร 100 cm3 จะต้องใช้ NaCl กี่กรัม NaCl ที่ใช้ในการทดลองนี้สามารถใช้เตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้น 0.5 mol/dm3 ได้ปริมาตรเท่าใด

ตอบคำถาม เหตุที่ไม่เติมน้ำกลั่นเพียงครั้งให้ถึงขีดบอกปริมาตรของขวดวัดปริมาตร เพราะจะทำให้ที่ว่างในขวดเหลือน้อย ไม่สะดวกในการเขย่าสาร นอกจากนี้สารบางชนิดเมื่อละลายน้ำแล้วมีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป ความร้อนที่ถ่ายเทระหว่างขวดวัดปริมาตรกับสารละลาย มีผลทำให้ขวดวัดปริมาตรมีปริมาตรคลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริง ใน

ขณะเตรียมสารละลายจึงต้องเติมน้ำลงในขวดวัดปริมาตรให้ต่ำกว่าขีดบอกปริมาตรเล็กน้อย เมื่อสารละลายมีอุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมิห้องแล้วจึงเติมน้ำเพื่อปรับระดับปริมาตรสารละลายอีกจนระดับของสารละลายถึงขีดบอกปริมาตรพอดี

ถ้าต้องการเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นเท่าเดิม แต่ต้องการให้มีปริมาตรลดลงเป็น 100 cm3 จะต้องใช้โซเดียมคลอไรด์ 2.34 กรัม และโซเดียมคลอไรด์ที่ใช้ในการทดลองนี้ 5.85 กรัม จะใช้เตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้น 0.5 mol/dm3 ได้ปริมาตร 200 cm3

คำถามท้ายการทดลอง(ตอนที่ 2) สารละลายที่เตรียมได้มีความเข้มข้นเท่าใดในหน่วยโมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร

คำนวณหาความเข้มข้นของสารละลาย NaCl ที่เตรียมได้ mol/dm3 จำนวน 10 cm3 จะมีมวล NaCl ละลายอยู่ = 0.4 mol/dm3 x 10 cm3 1000 cm3 = 0.004 mol

อภิปรายผลการทดลอง ปัจจัยใดบ้างที่มีผลทำให้ความเข้มข้นของสารละลายที่เตรียมได้คลาดเคลื่อน