อุบัติเหตุและวิธีป้องกัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 การเผยแพร่ความรู้ และประชาสัมพันธ์ให้กับสาธารณชนทราบ
Advertisements

บทที่ 2 หลักการควบคุมภายใน
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
 หลักทั่วไปในในการป้องกันและควบคุม อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน #
โครงการพัฒนาฝ่าย/ศูนย์ ในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนา ณ อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ ด้วยกิจกรรม 5 ส โดย นาง พจนันท์ ร่มสนธิ์ (เลขานุการสถาบันวิจัยและพัฒนา)
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จุดกำเนิดของ 5 ส คงจะระบุได้ยากว่า แท้ที่จริงแล้ว 5 ส เริ่มขึ้นครั้งแรกที่ไหนเมื่อไรแต่สันนิษฐานว่ามีมาตั้งแต่โบราณกาลแล้ว ซึ่งจุดเริ่มต้นของ 5 ส น่าจะมาจากทางตะวันตกก่อน.
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
กิจการนิสิต (Student Affairs)
ลำดับการนำเสนอ ความหมายและความจำเป็นของเทคโนโลยีสะอาด
การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
Biometric ความหมายของเทคโนโลยี Biometric ความเป็นมาเกี่ยวกับ Biometric
ความรู้พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
สุขภาพจิต และการปรับตัว
การบำรุงรักษาทรัพยากรมนุษย์
บทที่ 3 แรงจูงใจในการทำงาน.
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
1) สุขลักษณะของสถานที่ตั้งและอาคารผลิต 1.1 ที่ตั้งและสิ่งแวดล้อม 1.2 อาคารผลิต • บริเวณผลิต • พื้น ฝาผนัง และเพดาน • ระบบระบายอากาศและแสงสว่าง • การป้องกันแมลง.
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
การวางผังของสถานประกอบการ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
5 ส. 5 ส. คืออะไร ? 5 ส. เป็นกิจกรรมหนึ่งที่มุ่งเน้นในเรื่องการดูแลรักษาความสะอาด การจัดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสถานที่ทำงานหรือสถานประกอบการกิจกรรมหลักของ.
5ส เพื่อการเพิ่มผลผลิต
แนวคิดการเพิ่มผลผลิต Productivity Concept
v v อุตสาหกรรมขนส่งสินค้า ผู้โดยสารทางรถยนต์
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การเลือกบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ - คิดค้น พัฒนาดัดแปลง และผลิตเครื่องจักรกล เครื่องมือ.
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
กลุ่มโรงงานเครื่องจักรกล มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติคุณภาพ การให้บริการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ.
ความปลอดภัยในการทำงาน
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
5 ส 5 ส คือ กระบวนการในการจัดสถานที่ทำงานให้เป็นระเบียบเรียบร้อย โดยมุ่งเน้นที่จะก่อให้เกิดประสิทธิภาพของการทำงาน และจิตสำนึกในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่ดีของผู้ปฏิบัติงาน.
สุขภาพและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
บทที่6 การควบคุมคุณภาพและปริมาณ
การตรวจความปลอดภัย วัตถุประสงค์การตรวจความปลอดภัย
อุบัติเหตุจากการทำงาน
อ.สุเนตร มูลทา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ 6. บูรณาการความร่วมมือด้านการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อุบัติเหตุและวิธีป้องกัน บทที่ 12 อุบัติเหตุและวิธีป้องกัน

อุบัติเหตุ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจเป็นผลให้เกิดความเสียหายแก่คน และทรัพย์สินและมีอัตรารุนแรงแตกต่างกันไปตามชนิดของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น (Blum and Naylor.1968 : 517)

สภาพที่ไม่ปลอดภัย(Unsafe Conditions) สาเหตุของอุบัติเหตุ (Causes of Accidents) การกระทำที่ไม่ปลอดภัย(Unsafe Acts) สภาพที่ไม่ปลอดภัย(Unsafe Conditions) ภัยธรรมชาติ (Natural Phenomena) อุบัติภัย(Accidents) ทรัพย์สินเสียหาย (Damage of Properties) บุคคลบาดเจ็บ (Injuries & Death )

สาเหตุของอุบัติเหตุ 1. เกิดจากมนุษย์ 2. เกิดจากความบกพร่องของเครื่องมือเครื่องจักร 3. เกิดจากดวงชะตา หรือภัยธรรมชาติ

สาเหตุและความสูญเสีย 1. การกระทำที่ไม่ปลอดภัย 2. สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย 1. ความสูญเสียโดยตรง 2. ความสูญเสียทางอ้อม

ความสูญเสียจากอุบัติเหตุ บุคคล ทรัพย์สิน บาดเจ็บ เสียชีวิต เจ็บป่วย เครื่องจักรกล อาคารสถานที่ วัตถุดิบ สินค้าที่ผลิต บาดเจ็บแล้วรักษาได้ พิการตลอดชีวิต เจ็บป่วยแล้วรักษาได้ เจ็บป่วยแล้วต้องสูญเสีย เสียชีวิตทันที เสียชีวิตภายหลัง

วิธีป้องกันอุบัติเหตุ 1.ออกแบบเครื่องจักรกลให้ถูกหลัก 2.การศึกษา อบรม แนะนำพนักงาน 3. การออกกฎหมายข้อบังคับในการปฏิบัติงาน 1. วิธีการออกกฎโรงงาน 2. วิธีการจัดทำมาตรฐาน 3. วิธีตรวจสอบ 4. วิธีการวิจัยทางเทคนิค 5. วิธีการวิจัยทางการแพทย์ 6. วิธีการวิจัยทางจิตศาสตร์ 7. วิธีการวิจัยทางสถิติ 8. วิธีการให้การศึกษา 9. วิธีการฝึกอบรม 10. วิธีการเชิญชวน 11. วิธีการเอาประกันภัย 12. วิธีการวัดความปลอดภัยในการทำงานของแต่ละบุคคล

วิธีป้องกันอุบัติเหตุ ควบคุมสภาพแวดล้อม 1. การป้องกันอัคคีภัย 2. อุปกรณ์เกี่ยวกับไฟฟ้าและแก๊ส 3. ทางเดินในโรงงาน 4. การระบายอากาศ 5. ที่เก็บวัสดุอุปกรณ์ 6. เครื่องป้องกันอุบัติภัย 7. สิ่งแวดล้อมในการทำงาน 8.สารพิษ 9. การปฐมพยาบาลและการรักษา ควบคุมการปฏิบัติที่ไม่ปลอดภัย 1. การคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน 2. จัดทำป้ายประกาศและเตือนใจ 3. ให้การศึกษาและฝึกอบรม 4. เสริมแรงทางบวก เช่น สร้างแรงจูงใจ 5. ผู้บริหารระดับสูงให้ความสำคัญ

มาตรการความปลอดภัย 1. จัดตั้งหน่วยงานเพื่อความรับผิดชอบ 2. จัดตั้งคณะกรรมการมาตรการหรือโปรแกรมความปลอดภัยการป้องกันอุบัติเหตุ\3.jpg 3. จัดเครื่องมือป้องกันอุบัติเหตุการป้องกันอุบัติเหตุ\15.jpg 4. การจ่ายค่าตอบแทน 5. ความร่วมมือจากฝ่ายบริหาร 6. จัดโครงการเพื่อศึกษาหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอุบัติเหตุ 7. จัดการฝึกอบรม

การใช้วิธีทางจิตวิทยาในการลดอุบัติเหตุ 1. วิธีการคัดเลือกบุคลากร 2. วิธีการให้สวัสดิศึกษาการป้องกันอุบัติเหตุ\4.jpg 3. วิธีการทางจิตวิทยาวิศวกรรม การป้องกันอุบัติเหตุ\12.jpg

5 ส หรือ 5S คืออะไร ? ประเทศไทย...เครือซีเมนต์ไทย 1. สะสาง (Seiri) 2. สะดวก (Seiton) 3. สะอาด (Seiso) 4. สุขลักษณะ (Seiketsu) 5. สร้างนิสัย (Shitsuke)

จะได้อะไรบ้างจากการดำเนินกิจกรรม 5 ส ? สถานที่ทำงานสะอาด และเป็นระเบียบช่วยให้ 1. ประสิทธิภาพในการงานสูงขึ้น 2.คุณภาพดีขึ้น 3. ต้นทุนลดลง 4. มั่นใจว่าส่งมอบงานได้ทันเวลา 5. ความปลอดภัยในการทำงานสูงขึ้น 6. กำลังใจและทัศนคติของพนักงานดีขึ้น

ท่านคิดว่าการใช้หลักจิตวิทยาในการทำงานมีผลต่อการช่วยลดอุบัติเหตุในการทำงานหรือไม่ ถ้ามีท่านคิดว่าหลักการใดมีผลในการลดอุบัติเหตุในการทำงานมากที่สุด ท่านสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนรายวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์กรเบื้องต้นไปประยุกต์ใช้ในการทำงานในองค์กรของท่านได้หรือไม่ ถ้าได้ขอให้ยกตัวอย่างและนำทฤษฎีและหลักการที่เรียนประกอบการประยุกต์ใช้ (ให้ท่านบอกชื่อองค์กรของท่านด้วย)