ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
Advertisements

ให้นักเรียนคลิกเลือกคำตอบที่คิดว่าถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
การสื่อสารข้อมูลและ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของการสื่อสาร
ระบบการสื่อสารข้อมูล
คณะผู้จัดทำ นักเรียนโรงเรียนฝางวิทยายน อ. บ้านฝาง ต. บ้านฝาง จ. ขอนแก่น.
การสื่อสารข้อมูล.
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
แบบทดสอบก่อนเรียน รายวิชา COM 3701 ระบบการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
เทคโนโลยีสารสนเทศ มีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือหลัก
ระบบสารสนเทศเบื้องต้น
Mahidol Witthayanusorn School
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
Cable Twist-pair (สายคู่บิดเกลียว) Coaxial (สายโคแอกเชียล)
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
ICT+ Introduction to Networks ดร. สุรศักดิ์ มังสิงห์
4/4/2017 การสื่อสารข้อมูล เทคโนโลยีเพื่อการส่งสัญญานข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยมีองค์ประกอบพื้นฐาน 4 อย่าง คอมพิวเตอร์ หรือ หน่วยรับข้อมูล หรือ.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
นายพีระภานุพันธ์ แจ้งอนันต์
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
ข้อดี-ข้อเสียของ สื่อกลาง ในการสื่อสารข้อมูล.
ข้อดี ข้อเสีย สายคู่บิดเกลียว สายคู่บิดเกลียวแบบไม่หุ้มฉนวน
ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย 2. ระยะทางจำกัด
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อดี ข้อเสีย สายโคแอกเชียล มีความคงทนสามารถเดินสายใต้ดินได้
สื่อลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อดี ราคา ถูก ง่ายต่อการ นำไปใช้ ข้อเสีย ใช้กับ ระยะทาง สั้นๆ จำกัด ความเร็ว ในกรณีเป็นสาย แบบไม่มีชีลด์ ก็ จะไวต่อ สัญญาณรบกวน.
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อเสีย 1.จำกัดความเร็ว
สายนำสัญญาณข้อมูลที่ใช้ หลักการทางแสง กล่าวคือ ใช้ กับสัญญาณข้อมูลที่อยู่ในรูป ของคลื่นแสงเท่านั้นตัวแก้วนำ แสงอาจทำจากแก้วหรือ พลาสติก การสูญเสียของสัญญาณแสงใน.
ข้อดี-ข้อเสียของสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สภาวะแวดล้อมของธุรกิจ
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
ระบบการสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายโทรคมนาคม
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Principles of Communications Chapter 1 Introduction
Introduction to Network
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
ระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูล (Computer Network And Data Communication) คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน.
บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals)
ADSL คืออะไร.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
วัตถุประสงค์ อธิบายหลักการส่งข้อมูลแบบขนานและแบบอนุกรมได้
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet)
ข้อดี:ราคาถูก,มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน,ติดตั้งง่าย และมีน้ำหนักเบา
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
ข้อดี ราคาถูก ง่ายต่อการ นำไปใช้ ข้อเสีย จำกัด ความเร็ว ใช้กับ ระยะทาง สั้นๆ สายคู่บิดเกลียว.
สายคู่บิดเกลียวข้อเสีย ราคาถูก ง่ายต่อการนำไปใช้ ข้อดี ในกรณีเป็นสายแบบ ไม่มีชีลด์ ก็จะไวต่อ สัญญาณรบกวน จำกัดความเร็ว สายโคแอกเชียลข้อดี เชื่อมต่อได้ใน.
สายคู่บิด เกลียว ข้อดี ราคาไม่แพงมาก น้ำหนักเบา ติดตั้ง ง่าย ข้อเสีย จำกัดความเร็วใช้กับระยะทางสั้นๆ ในกรณีเป็นสายแบบ ไม่มีชีลด์ ก็จะไวต่อ สัญญาณรบกวน.
สื่อกลางในการสื่อ สารข้อมูลสายคู่บิดเกลียวสายใยแก้วนำแสงระบบไมโครเวฟสายโคแอกเชียลระบบดาวเทียม.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
โรงเรียนกระทุ่มแบน “ วิเศษสมุทคุณ”
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System) 2 การส่งสัญญาณและสัญญาณรบกวน (Transmission Definition and Noise)

หัวข้อ นิยามการส่งสัญญาณ รูปแบบการส่ง ข้อมูลเบื้องต้นการสื่อสารข้อมูล รูปแบบสัญญาณรบกวน ชนิดสัญญาณรบกวน

นิยามการส่งสัญญาณ การส่งสัญญาณ คือ การส่งข้อมูลหรือข่าวสารจากเครื่องส่งหรือผู้ส่งผ่านทางสื่อ หรือตัวกลางไปยังเครื่องรับหรือผู้รับ ข้อมูลที่ส่ง : สัญญาณเสียง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แสง

นิยามการส่งสัญญาณ สื่อกลาง กำหนดเส้นทางได้ ( Guided media) สายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนำแสง กำหนดเส้นทางไม่ได้ (Unguided media) คลื่นไมโครเวฟ, คลื่นวิทยุ สัญญาณดาวเทียม,อินฟาเรด Blue Tooth Wi-fi , Wi-max

รูปแบบการส่ง แบบทิศทางเดียว (One-way / Simplex : Television, Radio ) ข้อมูลส่งได้ในทางเดียวเท่านั้น แบบกึ่งสองทาง (Half – Duplex/Either-way / Two Ways : Police radio)  ข้อมูลสามารถส่งได้ทั้ง 2 สถานี แต่จะต้องผลัดกันส่งและผลัดกันรับ จะส่งและรับพร้อม แบบสองทาง (Both-way / Full-Duplex : telephone) ทั้งสองสถานีสามารถรับและส่งได้ในเวลาเดียว

รูปแบบการส่ง แบบทิศทางเดียว แบบกึ่งสองทาง แบบสองทาง

ข้อมูลเบื้องต้นการสื่อสารข้อมูล (ต่อ) ช่องทางการสื่อสาร (Channel) =>ทำการเคลื่อนย้ายพลังงานจากจุดต้นกำเนิดไปยังจุดปลายทาง ชนิดช่องทางการสื่อสาร =>มี 2 ชนิด คือช่องทางอนาล็อก และช่องทางดิจิตอล

นิยามการส่งสัญญาณ ชนิดของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ สัญญาณอนาล็อก สัญญาณที่อยู่ในรูปคลื่นความถี่ เมื่อสัญญาณไกลออกไปจะเกิดการลดทอนของสัญญาณ มีสัญญาณรบกวน (Noise)ได้ง่าย

นิยามการส่งสัญญาณ ชนิดของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ (ต่อ) สัญญาณดิจิตอล ระดับสัญญาณ 2 ค่า คือ 0 และ 1 เป็นสัญญาณที่คอมพิวเตอร์ใช้สื่อสารกัน สัญญาณข้อมูลจะสม่ำเสมอ จึงทำให้เกิดความน่าเชื่อถือในการส่งสัญญาณ

นิยามการส่งสัญญาณ

ข้อมูลเบื้องต้นการสื่อสารข้อมูล (ต่อ) หลักเกณฑ์การเลือกสื่อกลาง อัตราเร็วในการส่งผ่านข้อมูล ระยะทาง ค่าใช้จ่าย ความสะดวกในการติดตั้ง ความทนทานต่อสภาพแวดล้อม

ข้อมูลเบื้องต้นการสื่อสารข้อมูล (ต่อ) ช่องทางบรอดแบนด์และเบสแบนด์ (Broadband และ Baseband Channel) บรอดแบนด์ =>หรือช่องทางอนาล็อก สัญญาณที่ส่งจะมีความถี่แตกต่างกันส่งได้หลายสัญญาณในเวลาเดียวกัน เบสแบนด์ =>หรือช่องทางดิจิตอล ส่งสัญญาณข้อมูลเป็นบิตเทียบความต่างศักย์ บิต 1 เท่ากับ 5Vdc บิต 0 เท่ากับ 0Vdc

ข้อมูลเบื้องต้นการสื่อสารข้อมูล (ต่อ) ช่องทางบรอดแบนด์ (Broadband Channel)

ข้อมูลเบื้องต้นการสื่อสารข้อมูล (ต่อ) ช่องทางบรอดแบนด์ (Broadband Channel)

ข้อมูลเบื้องต้นการสื่อสารข้อมูล (ต่อ) ช่องทางเบสแบนด์ (Baseband Channel)

ข้อมูลเบื้องต้นการสื่อสารข้อมูล (ต่อ) ช่องทางเบสแบนด์ (Baseband Channel)

ข้อมูลเบื้องต้นการสื่อสารข้อมูล (ต่อ)

ข้อมูลเบื้องต้นการสื่อสารข้อมูล (ต่อ) อัตราบิตและอัตราบอด (Bit Rate และ Baud Rate) อัตราบิต => จำนวนบิตที่ช่องทางสามารถนำผ่านได้ภายใน 1วินาที หรือ อัตราความเร็วของการส่งผ่านข้อมูล มีหน่วยเป็น bps (bit per second) อัตราข้อมูล(Data Rate) => จำนวนบิตข้อมูลจริง ที่ผ่านไปในช่องทางดิจิตอล อัตราบอด => จำนวนสัญญาณดิจิตอล ที่ส่งผ่านไปในช่องทางสื่อสารภายใน 1 วินาทีมีหน่วยเป็น baud per second

ข้อมูลเบื้องต้นการสื่อสารข้อมูล (ต่อ) แบนด์วิดท์หรือแถบความถี่ (Bandwidth) แบนด์วิดท์ => ความจุของช่องทาง หรือขีดจำกัดที่ช่องทางสื่อสารสามารถนำข้อมูลผ่านช่องทางในช่วงเวลาที่กำหนด แถบความถี่ => ช่วงความแตกต่างความถี่ต่ำสุดกับความถี่สูงสุดของสัญญาณอนาล็อก

ข้อมูลเบื้องต้นการสื่อสารข้อมูล (ต่อ) ความเบาบางของสัญญาณ (Signal Attenuation) เกิดจากความต้านทานของช่องทางสื่อสารที่ทำให้พลังงานไฟฟ้าเปลี่ยนเป็นความร้อน สัญญาณรบกวน (Noise) เป็นพลังงานรูปแบบต่างๆมีรูปร่างไม่แน่นอนมีผลรบกวนหรือลดทอนสัญญาณข้อมูลที่ส่งมาในช่องสื่อสารระยะทางทำให้ความเบาบางของสัญญาณลดลง

ข้อมูลเบื้องต้นการสื่อสารข้อมูล (ต่อ) การเข้ารหัส (Encoding) และการถอดรหัส (Decoding) การแปลงข้อมูลข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงานพร้อมส่ง => Encoding การแปลงพลังงานไปเป็นข้อมูลข่าวสาร ก่อนเปิดอ่าน => Decoding

ชนิดสัญญาณรบกวน Atmospheric Noise =>ชั้นบรรยากาศของโลก ได้แก่ Lightning แสงสว่าง Solar พลังงานจากดวงอาทิตย์ Cosmic รังสีที่มีคลื่นความถี่สูง

ชนิดสัญญาณรบกวน Crosstalk Noise เกิดจากการรบกวนของสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าที่ถูกสร้างขึ้นจากช่องสัญญาณหนึ่งไปรบกวนกับอีกช่อง