3. ขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาษาอังกฤษแบบมืออาชีพน้อยกว่า 450 บาทต่อปี? ใช่แล้ว!
Advertisements

การ อบรม โครงการพัฒนาระบบ สารสนเทศชุมชนภายใต้ โครงการจัดตั้งศูนย์การ เรียนรู้ ICT ชุมชน.
การถ่ายภาพงานพัฒนาชุมชน
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
กลุ่ม L.O.Y..
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
รถยนต์ตกน้ำจะเอาตัวรอดได้อย่างไร
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
ขนาดเชิงมุม h q1 S1 q2 q2 > q1 S2 < S1
บทที่ 4 ระบบทางทัศนศาสตร์พื้นฐาน
ตาและการมองเห็น กระจกตา - โฟกัสภาพ - ระยะโฟกัสคงที่ เลนส์ตา - โฟกัสภาพ
=> Co= 299,792.5 km/s ( สุญญากาศ)
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
ช่วงความชัดลึกของภาพ ภาพจะมีช่วงความชัดลึกมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับเหตุผล 3 ประการ คือ.
วิชาการบริหารงานศูนย์สื่อการศึกษา
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
วิชาถ่ายภาพ.
การศึกษาและพัฒนาอาคารวัดปริมาณน้ำ ที่มีระดับต่างคงที่ (CHO)
เครื่องพิมพ์ (Printer)
Menu ที่มาของ Blu-ray Disc ผู้พัฒนามาตรฐาน Blu-Ray คือใคร?
ข้อเปรียบเทียบ Monitor 2 แบบ
เลนส์.
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ความถี่ในการส่งสัญญาณดาวเทียม
2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens)
การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน ( 2 )
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
เลนส์นูน.
การเขียนรายงานการวิจัย
มาตราส่วนในงานเขียนแบบ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
คุณสมบัติที่เพิ่มขึ้น และระบบการประมวลผลที่ทำให้ภาพดีเยี่ยม.
ศัพท์ทางเทคนิคกับการถ่ายทำและควบคุมกล้อง
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
ขั้นตอนการบริหารกิจกรรม 5ส
แบบสอบถาม (Questionnaires)
โครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลมุกดาหาร จำกัด
การมองเห็น และความผิดปกติของตา
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทำเครื่องหมายแสดงในบริเวณเขตระบบการขนส่งน้ำมัน ทางท่อ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 29 กันยายน 2554.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Professor Dr. Nipone Sookpreedee Professor Dr. Nipone Sookpreedee Siam University Siam
- canon - fuji - sony - conica - olympuscanonfujisonyconicaolympus กล้องดิจิตอล.
ให้นักเรียนออกแบบงานนำเสนอ เรื่อง กล้องดิจิตอล D-SLR
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ความรู้พื้นฐานของระยะภาพ
เทคนิคการถ่ายรูปภาพ & วีดีโอ  ภาพที่ออกมาจะไม่มีสั่นไหว  ใช้ขาตั้งกล้อง  สถานที่หรือสิ่งของที่สามารถวางกล้องได้  ถือกล้องด้วย 2 มือให้ข้อศอกอยู่ในระดับหน้าอก.
กล้องโทรทรรศน์.
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
ปัจจัยสำคัญของภาพยนตร์
บทที่8 การเขียน Storyboard.
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
แสง การมองเห็น และทัศนอุปกรณ์
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2
ด้วงกว่าง.
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ผลงานโดย 1. นางสาวกนกนันทน์ สารสมัคร
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
เทคนิคการปรับกล้อง.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

3. ขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง

จากไดอะแกรม พบว่าขนาดของหน้ากล้องเท่ากัน วัตถุที่อยู่ไกลกว่าจะให้มุมของลำแสงที่แคบกว่าวัตถุที่อยู่ใกล้ นั่นคือวัตถุที่อยู่ไกลกว่า จะให้มุมของลำแสงที่แคบกว่า วัตถุที่อยู่ไกลกว่า จะให้ช่วงความชัดลึกของภาพได้มากกว่า วัตถุที่อยู่ใกล้ การปรับระยะชัดของวัตถุที่อยู่ใกล้ตัวกล้องจึงต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ

เลนส์ถ่ายภาพใกล้ (Macro lens หรือ Micro lens) เป็นเลนส์ที่ใช้ถ่ายภาพวัตถุขนาดเล็กให้ใหญ่ขึ้นโดยสามารถเข้าไปใกล้สิ่งนั้น และ ปรับความชัดของภาพได้ สำหรับเลนส์ชนิดอื่น ไม่สามารถนำเลนส์เข้าไปใกล้วัตถุที่จะถ่ายมากๆ ได้ เพราะภาพจะอยู่นอกระยะโฟกัส ทำให้ภาพที่ได้ไม่ชัดเจน เลนส์ชนิดนี้จึงเหมาะสำหรับการถ่ายภาพดอกไม้ , แมลงเล็กๆ หรือวัตถุอื่นๆ ที่ต้องการขยายให้เห็นใหญ่ขึ้น

ภาพตัวอย่าง จากการใช้เลนส์ถ่ายใกล้ ภาพตัวอย่าง จากการใช้เลนส์ถ่ายใกล้ 24mm. + Reverse Adapter f11 1/15 วินาที 55mm. f5.6 1/60 วินาที

ช่วงความชัดลึกมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง ภาพเปรียบเทียบ ช่วงความชัดลึกมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง 5 เมตร

0.5 เมตร 2 เมตร

ภาพนี้ถึงแม้ว่าจะใช้เลนส์ถ่ายไกลถึง 500 mm 500mm. f8 1/125 วินาที

ภาพนี้มีช่วงความชัดน้อย เนื่องมาจากใช้เลนส์ถ่ายไกล และระยะทางวัตถุถึงตัวกล้องไม่ไกลกันจนเกินไป 500mm. f8 1/60 วินาที

ภาพนี้ถึงแม้ว่าจะใช้เลนส์ถ่ายไกลถ่ายแต่มีช่วงความชัดมากเพราะระยะทางระหว่างกล้องกับวัตถุอยู่ไกลกัน 180mm. f5.6 1/60 วินาที

ภาพนี้ แม้มีรูรับแสงแคบถึง f8 แต่มีช่วงความชัดน้อย เนื่องมาจากใช้เลนส์ถ่ายไกล และระยะทางวัตถุถึงตัวกล้องไม่ไกลกันจนเกินไป 70-200mm. f8 1/250 วินาที

ตัวการที่ทำให้ภาพชัดลึกมากหรือน้อย สรุป ตัวการที่มีผลต่อช่วงความชัดลึกของภาพ ตัวการที่ทำให้ภาพชัดลึกมากหรือน้อย ขนาดของรูรับแสง ทางยาวโฟกัสของเลนส์ ระยะทางระหว่างวัตถุกับกล้อง ภาพชัดลึกมาก รูรับแสงแคบ (f - number มาก) ทางยาวโฟกัสสั้น ระยะทางไกล ภาพชัดลึกน้อย รูรับแสงกว้าง (f - number น้อย) ทางยาวโฟกัสยาวระยะทางใกล้