ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร หมายถึง ระบบสารสนเทศที่จัดทำโดยการรวบรวมสารสนเทศทั้งภายในและภายนอกองค์การ เพื่อใช้ในการตัดสินใจของผู้บริหารอย่างสะดวก รวดเร็ว ทันเวลา ถูกต้อง โดยที่สารสนเทศเหล่านี้ เป็นสารสนเทศที่มีผลกระทบเกี่ยวข้องโดยตรงต่อการบริหารและการตัดสินใจ เป็นส่วนหนึ่งของระบบ DSS มีหน้าที่หลักในการช่วยผู้บริหารตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง เช่น การวางนโยบาย และการทำแผนกลยุทธ์
ส่วนประกอบเพิ่มเติมของระบบ EIS พ่วงต่อระบบชำนาญการพิเศษ (Expert System) เพื่อช่วยวิเคราะห์ตีความ เปรียบเทียบอดีต ทำนายอนาคตของข่าวสารขององค์การ ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารหรือ การจัดการสำนักงานอัตโนมัติ ให้สามารถติดต่อแลกเปลี่ยนส่งข้อมูลระหว่างบุคคลต่างๆ ได้ การสืบค้น สรุปข้อมูลจากฐานข้อมูลกลาง อื่นๆ เช่น ปฏิทิน เครื่องคำนวณ การประชุมทางไกล ฯลฯ
ผู้บริหาร เป็นบุคคลที่สำคัญที่สุดขององค์การ ทำงานที่มีความรับผิดชอบสูง เพื่อให้องค์การอยู่รอด หรือประสบความสำเร็จ และเป็นผู้ตัดสินใจคนสุดท้าย ใช้สารสนเทศทั้งภายนอก และภายใน ประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศที่จำเป็นต่อการบริหาร ปัจจัย ค่าเฉลี่ย (1 = ไม่สำคัญ, 5 = สำคัญสุด) นำเสนอข้อมูลข่าวสารโดยวิธีการง่ายๆและรวดเร็ว 4.68 เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของผู้บริหาร 3.95 3. สามารถตรวจสอบค่าประสิทธิ์ผลขององค์การได้ 3.90 4. ปรุงการติดต่อสื่อสารให้ดีขึ้น 3.47
สารสนเทศที่จำเป็นต่อการบริหาร (ต่อ) 5. สกัดและบูรณาการข้อมูลจากแหล่งข้อมูลสารพัดแหล่งที่แตกต่างกัน 3.31 6. ได้สารสนเทศเพื่อการแข่งขัน 2.71 7. ตรวจตราสภาวะการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมภายนอก 2.28 8. ลดขนาดขององค์การ 2.00
สารสนเทศสำหรับผู้บริหารควรมีลักษณะต่อไปนี้ เป็นข่าวสารที่สำคัญ เป็นข่าวสารที่มีผลกระทบต่อการบริหารงานชั้นสูง เป็นข่าวสารซึ่งสามารถแสดงเป็นเชิงปริมาณได้
ผลกระทบของ EIS ต่อองค์การ ด้านเป้าหมายและนโยบายขององค์การ ด้านบุคลากร ด้านเทคโนโลยี เพิ่มประสิทธิภาพขององค์การ
ประโยชน์ของ EIS ต่อผู้บริหาร ช่วยปรับปรุงการทำงานของผู้บริหารระดับสูงให้สะดวกยิ่งขึ้น - การติดต่อ และประสานงานสะดวกคล่องตัว - การใช้เวลาน้อยลงในการสืบค้นรวบรวมข้อมูล - เพิ่มขอบเขต ศักยภาพในการควบคุม วางแผนและจัดการองค์ การได้ 2. ช่วยสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายขององค์การ - เข้าใจความต้องการของลูกค้า และกระทำได้ตรงเป้าหมาย - ลดขนาด/จำนวน องค์การลง - สามารถเข้าใจคู่แข่ง สิ่งแวดล้อม ภายนอกและปรับปรุงภายใน เพื่อความอยู่รอดได้
ลักษณะของ EIS ใช้สารสนเทศจากระบบย่อยต่างๆ ง่ายต่อการใช้งาน
วิธีการระบุสารสนเทศที่จำเป็น การสัมภาษณ์ผู้บริหารชั้นสูง การประชุมผู้บริหารระดับสูง การตรวจสอบจากระบบสารสนเทศที่ใช้งานอยู่ปัจจุบัน การอภิปราย/วิเคราะห์ความต้องการกับคณะ/บุคคล/ผู้ช่วยผู้บริหารระดับสูง ผู้ช่วยผู้บริหาร
ข้อควรระวังในการเลือกสารสนเทศ การวิเคราะห์สารสนเทศที่ใช้งานและไม่อยู่ในรูปแบบคอมพิวเตอร์ การสำรวจความต้องการสารสนเทศขององค์การอื่นๆ การสำรวจหาปัจจัยหลักในการชี้นำความสำเร็จ (Critical Success Factors CSF)