กลยุทธ์การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

มูลนิธิสถาบันที่ดิน 9 กรกฎาคม 2550
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ยินดีต้อนรับ ท่านอธิบดีกรมอนามัย ดร
กลยุทธ์การบริหาร การเปลี่ยนแปลง
HPC 11 กรอบแนวทางการดำเนินงาน นโยบายกรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11 ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มยุทธศาสตร์ 31 กค. 52.
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
Good Practice (for Quality Improvement)
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การวางแผนกลยุทธ์ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ อ.ศิริชัย วงศ์วัฒนไพบูลย์
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การวางแผนยุทธศาสตร์.
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
การทบทวนแผนยุทธศาสตร์สำนักอนามัย 4 ปี เพื่อเชื่อมโยงสู่การปฏิบัติ ในหน่วยงานระดับสำนักงาน/กอง สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลยุทธ์การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

สาระหลัก ภาวะผู้นำ แผนกลยุทธ์ บริหารลูกค้า บริหารทรัพยากรบุคคล จัดการกระบวนการ จัดการความรู้ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

Malcolm Baldrige Award และรางวัลคุณภาพแห่งชาติ การวางแผน Planning (75) การบริการ Service Orientan (125) สารสนเทศ & การวิเคราะห์ Information & analysis (75) ระดับและแนวโน้ม มาตรฐาน Excellence level & trend (425) ภาวะผู้นำ Leadership (125) การจัดการ กระบวนการ Process management (75) ทรัพยากรบุคคล & บรรยากาศ Employee & Workplace (100) นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

แนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ ของสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ วางแผนกลยุทธ์ จัดทำกลยุทธ์ นำกลยุทธ์ ไปปฎิบัติ การมุ่งเน้นลูกค้า & ตลาด รู้ลูกค้า ตลาด ความพึงพอใจ การวิเคราะห์ & จัดการความรู้ วัด วิเคราะห์ ผลลัพธ์ ลูกค้า บริการ การเงิน บุคคล ประสิทธิผล ธรรมาภิบาล การนำองค์กร นำองค์กร รับผิดชอบ สังคม การเน้นทรัพยากรบุคคล ระบบงาน เรียนรู้ แรงจูงใจ พึงพอใจ การจัดการ กระบวนการ คุณค่า สนับสนุน นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

ปฏิบัติการอันใด ย่อมไม่ผิดพลาด ดำเนินการยุทธ ย่อมไม่มีทางอับจน ผู้เชี่ยวชาญการศึก ปฏิบัติการอันใด ย่อมไม่ผิดพลาด ดำเนินการยุทธ ย่อมไม่มีทางอับจน รู้เขา รู้เรา ชัยชำนะจักไม่พลาด หยั่งรู้ดินฟ้าอากาศ ชัยชนะจักสมบูรณ์แล ซุนวู นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

สัปปุริสธรรม ๗ 1. รู้หลักการ 2. รู้จุดหมาย 3. รู้ตน 4. รู้ประมาณ สัปปุริสธรรม ๗ 1. รู้หลักการ 2. รู้จุดหมาย 3. รู้ตน 4. รู้ประมาณ 5. รู้กาล 6. รู้ชุมชน 7. รู้บุคคล นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

การวางแผนกลยุทธ์ ระดับของจุดมุ่งหมาย ระดับขององค์กร ระดับของแผน 3 คำถามกลยุทธ์ 5 ขั้นตอนของการบริหารกลยุทธ์ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

ระดับของจุดมุ่งหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย 1 2 เป้าหมาย 3 เป้าหมาย 4 เป้าหมาย 5 เป้าหมาย 6 วัตถุประสงค์ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

วิสัยทัศน์ อนาคตอันพึงประสงค์ ที่เป็นจริงได้ น่าเชื่อถือ กระตุ้นคนในองค์กรให้ร่วมกันสร้างอนาคตได้อย่างกลมกลืนกับปัจจุบันอย่างไร เมื่อใด เพราะอะไร อนาคตจะอยู่ที่ใด จะทำอะไร อะไร คือ ปัจจัยความสำเร็จ อะไร คือ เป้าหมายสำคัญที่สุด อะไร คือ ค่านิยมเฉพาะ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

วิสัยทัศน์ เป้าหมาย การเปลี่ยนแปลงคน นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

วิสัยทัศน์ ปรับองค์กรด้วยการมอบอำนาจ ให้บรรลุความต้องการลูกค้า J & J credo “ Decentralization + Creativity = Productivity ” ปรับองค์กรด้วยการมอบอำนาจ ให้บรรลุความต้องการลูกค้า และบูรณาการทุกภาคส่วน ด้วยการประสานสัมพันธ์ทุกคน นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

วิสัยทัศน์ กำหนดกรอบ / ภาพกว้าง เนื้อหาหลัก : การเปลี่ยนแปลง / เป้าหมาย / คน ทำให้เป็นจริง ทั้งคำพูดและการกระทำ กลยุทธ์ / กลวิธี / กิจกรรม การสื่อสาร นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

การสื่อสารวิสัยทัศน์ เป็นจริงได้ : จับต้องได้ ตรงเป้าหมาย ในทางที่ดี : ความหวัง ความเป็นไปได้ แสดงการกระทำ แน่นอน Dr. Martin Luther King Jr. “ I Have a Dream …………. ” นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

วิสัยทัศน์ของกิจการชั้นนำ โครงการ Apollo ของ NASA “To send a man on the moon before the Soviets” Canon Corporation “To beat Xerox”

วิสัยทัศน์ บริษัทปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) “เป็นผู้นำผลิตภัณฑ์ปูนซีเมนต์ ในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) “จะเป็นธนาคารชั้นนำในภูมิภาคเอเชีย”

วิสัยทัศน์ของสำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ “สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นหน่วยงานชั้นนำในการสนับสนุนงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ ด้วยหลักการบริหารการบ้านเมืองที่ดี”

วิสัยทัศน์ของกระทรวงแรงงาน “กระทรวงแรงงานเป็นองค์กรหลักในการบริหารงานเชิงรุก พัฒนาแรงงานให้มี งานทำ มีศักยภาพ สามารถสนับสนุน ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ มีหลักประกันความมั่นคง และ มีคุณภาพชี้วัดที่ดีในการทำงาน”

ระดับองค์กร จุดมุ่งหมาย แผน ระดับองค์กร จุดมุ่งหมาย แผน องค์กร จุดมุ่งหมาย แผน วิสัยทัศน์ พันธกิจ กรม ยุทธศาสตร์ / กลยุทธ์ เป้าหมาย สำนัก / กอง ยุทธวิธี / กลวิธี วัตถุประสงค์ กลุ่ม / ฝ่าย ยุทธการ / กิจกรรม นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

3 คำถามยุทธศาสตร์ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ เราจะไปที่ไหน เราอยู่ที่ไหน 3 คำถามยุทธศาสตร์ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ 100 50 เราจะไปที่ไหน เราจะไปได้อย่างไร = แผนกลยุทธ์ เราอยู่ที่ไหน 44 48 50 เวลา นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

5 ขั้นตอนการบริหารกลยุทธ์ 5 ขั้นตอนการบริหารกลยุทธ์ กำหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ค้นหา วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ วางแผน กลยุทธ์ ปฏิบัติ กลยุทธ์ กำกับ ประเมินผล นโยบายกลยุทธ์ นโยบายเอื้อ ต่อการปฏิบัติ นโยบาย กำกับ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

วัตถุประสงค์ และแผนกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ และแผนกลยุทธ์ วิเคราะห์ ปัจจัย ภายใน ภายนอก กำหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ความ ต้องการ คุณค่า ทักษะ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค วัตถุ ประสงค์ กลยุทธ์ ประเมิน ทางเลือก ตัดสินใจ ทางเลือก กลยุทธ์ จัดลำดับ กลยุทธ์ นโยบาย นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

การวิเคราะห์ปัจจัยภายใน System Style Skill Shared value Strategy Structure Staff นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

ตัวชี้วัด 7’s Model Shared System Staff value Style Skill Strategy Structure Staff Efficiency Effectiveness Efficacy Economy Ethics Teamwork Cross Functional team จำนวน อายุ คุณสมบัติ ประสบการณ์ Super goal I P O Generalist Specialist Passive \ active reactive \ proactive นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

วิเคราะห์ปัจจัยภายนอก Social Economic Health Political Technology Education Environment นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

วิเคราะห์ปัจจัยภายนอก ปิรามิดประชากร ประชากร ชนบท/เมือง สภาพสังคม ยาเสพติด อาชญากรรม GDP GPP สัดส่วนรายได้ การเติบโตทาง เศรษฐกิจ Social Economic อายุขัยเฉลี่ย สถานะสุขภาพ ทรัพยากร สาธารณสุข อัตราป่วย อัตราตาย Health Political Technology เอกภาพ การปกครอง หมู่บ้าน/ตำบล/ อำเภอ/เทศบาล อบต. อินเตอร์เนต โทรศัพท์ ไฟฟ้า Education Environment ทรัพยากรธรรมชาติ มลภาวะ อัตรารู้หนังสือ อัตราเรียนต่อ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

ระบบองค์กร กลุ่มผลประโยชน์ สภาพแวดล้อม ข้อมูล เงิน ประเมินผล คน งาน ผลลัพธ์ เป้าหมาย ผลิตภาพ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความพึงพอใจ มองไกล ทรัพยากร วัสดุ ครุภัณฑ์ บริการ คน เงิน การบริหาร เวลา งาน นักบริหาร ผู้นำ วัฒนธรรมองค์กร เทคโนโลยี องค์กร โครงสร้าง ระบบ ข้อมูล เงิน ประเมินผล นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

ระดับตัวชี้วัด Input Process Output Outcome Impact M T PODC PDCA POSDCoRB Efficiency Effective Satisfaction Vision Productivity Morbidity Mortality Health นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

BSC : เครื่องมือ แปลกลยุทธ์สู่การปฎิบัติ บริหารจัดการ ประเมินผล นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

BSC : ระบบบริหารองค์กร ปรับ กลยุทธ์ เป้าหมาย ปรับ แผนปฎิบัติการ จัดทำแผนกลยุทธ์ สร้างแผนที่กลยุทธ์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ถ้าผลต่ำกว่าเป้าหมาย : เรียนรู้ นำกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ Strategic initiative แผนปฏิบัติการ งบประมาณ เปรียบเทียบผล ดำเนินงาน กับเป้าหมาย นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

มุมมอง 4 ด้านของ BSC มุมมองด้านการเงิน มุมมองด้าน กระบวนการ วิสัยทัศน์ ภายใน วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ มุมมองด้านลูกค้า มุมมองด้าน นวัตกรรมและ การเรียนรู้ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

มิติลูกค้า มิติประสิทธิผล มิติกระบวน การภายใน มิติคุณภาพ บริการ มิติองค์กร เรียนรู้ มิติพัฒนา องค์กร วิสัยทัศน์ พันธกิจ มิติด้านการเงิน มิติประสิทธิภาพ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

วิธีการนำกลยุทธ์ สู่การปฏิบัติด้วยBSC 1.1 กำหนดกลยุทธ์ระดับองค์กรและ กลวิธีระดับธุรกิจ 1.2 กำหนดวัตถุประสงค์กลยุทธ์ และตัวชี้วัดความสำเร็จ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

วิธีการนำกลยุทธ์ สู่การปฏิบัติด้วยBSC 1.3 ทำแผนที่กลยุทธ์ กลยุทธ์ระดับองค์กร กลวิธีระดับธุรกิจ - มุมมองด้านการเงิน - มุมมองด้านลูกค้า - มุมมองด้านกระบวนการภายใน - มุมมองด้านนวัตกรรมและ การเรียนรู้ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

วิธีการนำกลยุทธ์ สู่การปฏิบัติด้วยBSC 2. วิเคราะห์ SWOT สู่ BSC 2.1 วิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค 2.2 กำหนดวัตถุประสงค์กลยุทธ์ 2.3 ทำแผนที่กลยุทธ์ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

วิธีการนำกลยุทธ์ สู่การปฏิบัติด้วยBSC 3.1 กำหนดกลยุทธ์หลักบางประเด็น 3.2 ระดมสมองหาวัตถุประสงค์ กลยุทธ์ของแต่ละมุมมอง 3.3 จัดลำดับความสำคัญวัตถุประสงค์ 3.4 ทำแผนที่กลยุทธ์ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

ผลสำเร็จตามแผนกลยุทธ์ ประเด็นการประเมินผลการปฎิบัติราชการ มิติประสิทธิผล ผลสำเร็จตามแผนกลยุทธ์ มิติพัฒนาองค์กร การบริหารความรู้ การจัดการสาร สนเทศ การบริหารการ เปลี่ยนแปลง มิติคุณภาพบริการ คุณภาพบริการ ปปป. วิสัยทัศน์ พันธกิจ มิติประสิทธิภาพ การลดค่าใช้จ่าย การลดระยะเวลาบริการ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

ตัวชี้วัดการประเมินผลการปฎิบัติราชการ ประสิทธิผล : ผลสำเร็จตามแผนกลยุทธ์ •กระทรวง (10) • กลุ่มภารกิจ (15) • กรม (20) • ผลผลิตกรม (5) • สนับสนุนจังหวัด (10) พัฒนาองค์กร : แผนบริหารความรู้ 3 เรื่อง (4) แผนสารสนเทศ (4) แผนบริหารการ เปลี่ยนแปลง (16) คุณภาพ : ความพึงพอใจ บริการ (4) ปปป. (4) วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประสิทธิภาพ : ประหยัดงบประมาณ (4) ลดระยะเวลาบริการ (4) นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

การบริหารลูกค้า 1. ใครคือ ลูกค้า 2. อะไรคือ คุณค่า ที่เสนอให้ลูกค้า 1. ใครคือ ลูกค้า 2. อะไรคือ คุณค่า ที่เสนอให้ลูกค้า 3. อะไรคือกิจกรรมที่เราทำเพื่อให้ เสนอคุณค่าตามที่ลูกค้าต้องการ 4. ทำอย่างไรที่จะพัฒนา และ ปรับปรุงคุณค่าที่เสนอ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

คุณค่าที่ลูกค้าต้องการ Price ราคา Quality คุณภาพ Image ภาพลักษณ์ Service บริการ Time เวลา นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

มุมมองด้านลูกค้า 1. คุณค่าพื้นฐาน PQIST 2. คุณค่าที่แตกต่าง ลูกค้าที่เพิ่มขึ้น รักษาลูกค้าเก่า ลูกค้าพึงพอใจ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

การบริหารทรัพยากรบุคคล การพัฒนาทักษะบุคลากร การสร้างแรงจูงใจบุคลากร ระบบสารสนเทศที่ดี นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

ทุนมนุษย์ ทุนสังคม Social capital แรงจูงใจ Emotional capital ความสัมพันธ์ Relationship capital ความรู้ Knowledge capital นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

ปัจจัยด้านทุนมนุษย์ ความสามารถ / ทักษะที่สำคัญ ภาวะผู้นำ วัฒนธรรมองค์กร และการรับรู้กลยุทธ์องค์กร ความสอดคล้องร่วมกัน ภายในองค์กร การแบ่งปัน / ถ่ายทอดความรู้ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

การบริหารจัดการที่ดี กระบวนการภายใน นวัตกรรม การบริหารลูกค้า การดำเนินงาน การบริหารจัดการที่ดี นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

กระบวนการภายใน เกี่ยวข้องกับกระบวนการย่อ 3 ขั้นตอนคือ 1. นวัตกรรม (Innovation) ผลของความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2. การปฏิบัติ (Operation) ครบถ้วนทั่วถึงตรงเวลา พึงพอใจ 3. การบริการหลังการขาย (Postal Services)

การเงิน จุดรวมของการวัดในมิติอื่น ๆ ใน BSC ตัวชี้วัดที่นิยมใช้ - การเพิ่มรายได้ - ลดต้นทุน - การเพิ่มผลผลิต - การใช้ประโยชน์ทรัพย์สิน และการลงทุน

การเงิน 1. เพิ่มรายได้ 2. ลดต้นทุน วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด - สินค้าหรือบริการใหม่ - รายได้จากสินค้าใหม่ : รายได้ทั้งหมด - ลูกค้ากลุ่มใหม่ - รายได้จากลูกค้าใหม่ : รายได้ทั้งหมด - ลูกค้างกลุ่มเดิม - ร้อยละการเพิ่มขึ้นของรายได้ : ลูกค้า - เปลี่ยนแปลงโครงสร้างราคา - รายได้เพิ่มขึ้นหลังเปลี่ยนแปลงราคา 2. ลดต้นทุน - ต้นทุนต่อหน่วย - ต้นทุน : ผลผลิต, ต้นทุน : พนักงาน - ต้นทุนการดำเนินงาน - อัตราส่วนต้นทุนการดำเนินงาน : ต้นทุนทั้งหมด - เพิ่มผลผลิต - ผลผลิต : พนักงาน - การใช้ประโยชน์ของสินทรัพย์ - ผลตอบแทน : สินทรัพย์ทั้งหมด - อัตราการใช้เครื่องจักร

การเงิน ดำเนินการผ่านกลยุทธ์ที่สำคัญ 3 ด้านคือ 1) การสร้างความเจริญเติบโตทางรายได้ ด้วยการขยายประเภทผลิตภัณฑ์ของสินค้า หรือบริการเพื่อให้ได้ลูกค้า และตลาดใหม่ 2) การลดต้นทุน และเพิ่มผลผลิต 3) การใช้ประโยชน์จากทรัพย์สิน และ การลงทุน

องค์กรเรียนรู้ 1. คำถามนักบริหาร สมรรถนะ จุดแข็ง รู้อะไร Know what สมรรถนะ จุดแข็ง รู้อะไร Know what สมรรถนะ จุดแข็ง รู้อย่างไร Know how ผลผลิต ผู้นำ รู้ทำไม Know why ทำไมรู้ Care why มาตรฐาน กฏ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

องค์กรเรียนรู้ 2. คนเรียนรู้ คน คือ สินทรัพย์ นวัตกรรม คุณภาพ ต่ อะไร คน คือ สินทรัพย์ นวัตกรรม คุณภาพ ต่ อ เ นื่ ง อะไร คืองาน เรียนรู้ ผลผลิต ความ รับผิดชอบ คืออะไร ถ่ายทอด ปริมาณ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

องค์กรเรียนรู้ 3. องค์กรเรียนรู้ Wisdom Knowledge Information Data C P L N Wisdom ทดสอบซ้ำ ๆ Knowledge บรรลุจุดมุ่งหมาย Information สร้างจุดแข็ง สมรรถนะ วัฒนธรรม Data ตั้งถูกคำถาม ถูกคน ถูกเวลา นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

วัตถุประสงค์ และแผนกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ และแผนกลยุทธ์ วิเคราะห์ ปัจจัย ภายใน ภายนอก กำหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ความ ต้องการ คุณค่า ทักษะ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค วัตถุ ประสงค์ กลยุทธ์ ประเมิน ทางเลือก ตัดสินใจ ทางเลือก กลยุทธ์ จัดลำดับ กลยุทธ์ นโยบาย นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

กลยุทธ์ กลวิธี กรมอนามัย กับยุทธศาสตร์เมืองไทยแข็งแรง * มหกรรมเมืองไทยแข็งแรง 1.1.1 รณรงค์/ประชาสัมพันธ์ * รณรงค์สร้างเสริมสุขภาพ 1.1 Air campaign 1.1.2 จัดเวทีภาคประชาชน * จัดเวทีภาคประชาชน 1. การสื่อสารสาธารณะ 1.2.1 จัดตั้ง ขยายชมรม * เพิ่มชมรม 1.2 การสร้างเครือข่ายสื่อสาร * เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1.2.2 สร้างความเข้มแข็งเครือข่าย * ประกาศเกียรติคุณ * ประชุมชี้แจงระดับเขต 2.1.1 สร้างความเข้มแข็งเครือข่าย 2.1 สร้างพันธมิตร * ติดตาม ประสานระดับจังหวัด 2. การสร้างการมีส่วนร่วม 2.1.2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ * เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ * ประกาศเกียรติคุณ 2.2 สนับสนุนพันธมิตรเครือข่าย 2.2.1 สร้างแรงจูงใจ * ประสานสัมพันธ์ 2.2.2 สนับสนุนแผน * สนับสนุนทรัพยากร 3.1 ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ 3.1.1 พัฒนาศักยภาพ อปต. * สัมมนา * ศึกษา ดูงาน 3. การใช้มาตรการ ทางสังคม 3.1.2 สร้างการเรียนรู้ให้ประชาชน * ประชาสัมพันธ์ 3.2.1 เสนอสุขภาพปัญหาสู่สังคม 3.2 สร้างกระบวนการควบคุม ทางสังคม 3.2.2 สร้างช่วงทางรับฟังความคิดเห็น 4. การบริหารจัดการ มุ่งผลสัมฤทธิ์ 4.1 บูรณาการผลผลิตกรมกับ เมืองไทยแข็งแรง 4.1.1 ผลักดันให้บรรจุแผน 4.2 สร้างสมรรถนะการบริหาร กลยุทธ์ 4.2.1 พัฒนาศักยภาพความรู้ทักษะ * นสส. นสก. นสต. 5.1.1 ตั้งศูนย์การเรียนรู้ 5.1 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายใน : KM 5.1.2 พัฒนาระบบ ICT * ประชุมชี้แจง 5. การพัฒนาวิชาการ และการเรียนรู้ 5.2 พัฒนาความรู้เพื่อเชื่อมต่อ กับชุมชน 5.2.1 สร้างสมรรถนะหลัก * อบรมวิทยากรกระบวนการ * กรองประสบการณ์ 5.3 จัดทำมาตรฐานบริการ ส่งเสริมสุขภาพ - พัฒนารูปแบบ : AR 5.3.1 จัดทำมาตรฐาน - สาธิต นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

กลยุทธ์ กลวิธี 4. การบริหารจัดการ มุ่งผลสัมฤทธิ์ 4.1 บูรณาการผลผลิตกรมกับ เมืองไทยแข็งแรง 4.2 สร้างสมรรถนะการบริหาร 5. การพัฒนาวิชาการและ การเรียนรู้ 5.4 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายใน KM 5.2 พัฒนาความรู้เชื่อมต่อกับ ชุมชน

องค์กรหลักแห่งการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เมืองไทยแข็งแรง S2. การใช้นโยบายสาธารณะและมาตร การทางกฎหมาย S4. สร้างการมีส่วนร่วมและเสริมสร้างขีดความ สามารถของภาคีเครือข่าย S7. สร้างภาพลักษณ์ที่ดีของสังคมด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม S5. การพัฒนาสถานบริการ สถานประกอบ- การให้ได้ Std. S1. การพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม S6. การแก้ไขปัญหาเพื่อคุ้มครองสิทธิ กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ S3. สร้างกระแสและผลักดันสังคมให้ตระหนักและเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม S8. การพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ L1 การสร้างวัฒนธรรมองค์กร L2 การบริหารทรัพยากร บุคคล L3 การพัฒนาสารสนเทศ L4 การพัฒนาเป็น LO. F1 สร้างระบบความโปร่งใส F2 การพัฒนาระบบการบริหารการเงิน

Bangkok Charter for Health Promotion In Globalised World Policy development Practice Leadership Health literacy Knowledge management Build Capacity Partner Bangkok Charter For Health Promotion advocacy Invest Regulate Commitment to Health For All Make the promotion of health Global development agenda Government core responsibility Key focus of communities and civil society Good corporate practices Action Infrastructure

การส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ของประเทศ” วิสัยทัศน์ “องค์กรหลัก การส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ของประเทศ”

พันธกิจ พัฒนา ผลักดัน และสนับสนุนให้เกิดนโยบาย และกฎหมายที่จำเป็น ผลิต พัฒนาองค์ความรู้ และนวตกรรม ถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยี พัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เข้มแข็ง

การบริหารภาครัฐแนวใหม่ เน้นการบริหารแบบมืออาชีพ กำหนดวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัดผล การดำเนินงานอย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม ให้ความสำคัญต่อความรับผิดชอบผลงาน เน้นผลสัมฤทธิ์ และการเชื่อมโยงเข้ากับการจัดสรรทรัพยากร และการให้รางวัล

การบริหารภาครัฐแนวใหม่ (ต่อ) ปรับปรุงโครงสร้างองค์กรให้มีขนาดเล็กลง เหมาะสมต่อการปฏิบัติงาน มีการจ้างเหมางานบางส่วนออกไป เปิดให้มีแข่งขันสาธารณะเพื่อช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพ ปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารงานให้ทันสมัย (บริหารยุทธศาสตร์) เสริมสร้างวินัยในการใช้งบประมาณ ประหยัด และคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากร

แผนบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อรองรับการทำงานตลอดช่วงระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของรัฐบาล ยึดตามคำแถลงนโยบายรัฐบาล ที่ได้แถลงต่อรัฐสภา สาระสำคัญแสดงให้เห็นทิศทาง การทำงานของรัฐบาลไปสู่จุดหมาย วิธีการ การวัดผลสำเร็จ ใครที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ใครเป็นเจ้าภาพ

ความสัมพันธ์ของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พรรคการเมือง หาเสียงจากประชาชน นโยบายรัฐ แถลงต่อรัฐสภา (23-25 มี.ค. 48) แผนบริหารราชการแผ่นดิน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา แผนปฏิบัติการกระทรวง 4 ปี เสนอคณะรัฐมนตรีเห็นชอบ แผนงบประมาณ 1 (3) ปี คำรับรองการปฏิบัติราชการ

แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการประจำปี แผนการบริหารราชการแผ่นดินแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (พ.ศ. 2548 – 2551) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี มิติภารกิจตามอำนาจหน้าที่ Function มิติพื้นที่ Area มิติระเบียบวาระพิเศษ Agenda แผนปฏิบัติราชการประจำปี บูรณาการ

นโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข ยุทธศาสตร์เมืองไทยแข็งแรง ถุงรับขวัญเด็กแรกเกิด การดูแลผู้สูงอายุ ฟันเทียมพระราชทาน ธาลัสซีเมีย การพัฒนาส้วมสาธารณะ โครงการเด็กไทยทำได้ โครงการ VIA

โครงการสำคัญกรมอนามัยปีงบประมาณ 2549 โครงการส่งเสริมพัฒนาเด็กสมวัย โครงการเด็กไทยทำได้ ฯ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ โครงการครอบครัวแข็งแรงสู่เมืองไทยแข็งแรง โครงการเมืองน่าอยู่สู่เมืองไทยแข็งแรง โครงการความปลอดภัยด้านอาหาร และโภชนาการ โครงการพัฒนาส้วมสาธารณะ โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย

สถานะสุขภาพอนามัย แม่และเด็ก

Maternal Mortality Ratio 1990-2004 RAMOS MMR 1997-98 Target 18:100000 Lbs SMH Source : Bureau of Health Promotion, Department of Health : Safe Motherhood Project

Perinatal Death Rate 1990-2004 Target <9 :1001 TBs Source : Bureau of Health Promotion, Department of Health : Safe Motherhood Project

Infant Mortality rate 1986 - 2004 Target <15:1000 LBs Year Source : National Statistic office (The Survey of Population Change) 1986 - 1996 : Mahidol Population Gazette, July 1999, 2004

Low Birth Weight Rate 1990-2002 Target 9th plan < 7 %

Iron Deficiency Rate in Preg. Women Target 9th plan < 10 % Source : Bureau of Health Promotion, DOH

Birth Asphyxia 1999-2004 Target 9th plan < 30:1,000 LBs

ANC 1999-2004 Target 100 %

ร้อยละมารดาอายุน้อยกว่า 20 ปี 2000-2004 Target <10 %

Rate of HIV Infection in Pregnant Women์ , 1990 - 2005 Source : Bureau of Epidemiology , Dept of CD ,Ministry of Public health 2004

Rate of HIV Transmission from mother to child,1990 - 2005 Target <6 % Source : Bureau of Health Promotion, Dept of Health ,Ministry of Public health 2004

Exclusive breast feeding rate 1993, 1995 , 1998,1999,2001,2003 Target Exclusive Breast Feeding : 30 % Exclusive breast feeding rate 1993, 1995 , 1998,1999,2001,2003 Sources 1995; Family Planning Div. 1994 1996: Nutrition Div.,1996 1999 Somchai Durongdej, Facuty of Public Health 1999 2001 Bureau of Health Promotion 2004 Bureau of Health Promotion

Prevalence of PEM of Children 0-5 years Source: Surveillance report of Nutrition status of Children Aged 0 - 60 months, Bureau of Health Promotion 2006

ตัวชี้วัดหลักที่ 1 เด็กอายุ 0 - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดหลักที่ 1 เด็กอายุ 0 - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 เป้าหมาย 80 % ปี 42,47 ข้อมูลสำรวจโดยสำนักส่งเสริมฯโดย Denver II ปี 48 สำรวจโดยศูนย์อนามัย โดย Mod Denver II 71.2 % 72.0 % 72.8 %

นโยบาย และแผนสุขภาพ ด้านอนามัยแม่และเด็กแห่งชาติ

การดำเนินการผ่านโครงการหรือเครื่องมือต่างๆ 1. โครงการให้การปรึกษาก่อนสมรส 2. การใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 3. โครงการโรงเรียนพ่อแม่ 4. โครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย 5. โครงการควบคุมและป้องกันโรคทางพันธุกรรม - โรคธาลัสซีเมีย - กลุ่มอาการดาวน์ - โรคฮีโมฟิเลีย นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

การดำเนินการผ่านโครงการหรือเครื่องมือต่างๆ 6. โครงการลดการถ่ายทอดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูก 7. โครงการลดภาวการณ์ขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด 8. โครงการลดอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย 9. โครงการคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนในทารกแรกเกิด 10. โครงการโรงพยาบาลสายสัมพันธ์แม่ - ลูก นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

สวัสดี

สวัสดี

ความหมายของ PORTFOLIO P Plan O Organizing R Real T Team F Fit O Observe L Local I Intend O Opinion

PORTFOLIO PORT 1 : ประวัติบุคคล ประวัติการทำงาน ประวัติฝึกอบรม PORT 3 : จุดมุ่งหมายชีวิต แผนพัฒนาตนเอง PORT 4 : การเรียนรู้ประจำวัน การประยุกต์ใช้พัฒนางาน

BALANCE SCORECARD มิติลูกค้า วิสัยทัศน์ มิติกระบวน มิติ เป้าหมาย การภายใน วิสัยทัศน์ เป้าหมาย มิติ ประสิทธิภาพ มิติองค์กรเรียนรู้

BSC VS กพร. มิติลูกค้า มิติประสิทธิผล มิติกระบวน มิติ การภายใน การเงิน มิติคุณภาพ บริการ มิติ การเงิน ประสิทธิภาพ วิสัยทัศน์ พันธกิจ มิติองค์กรเรียนรู้ มิติพัฒนาองค์กร

ระดับของ BSC องค์กร กลุ่มงาน / งาน บุคคล

พัฒนาตนเอง เรียนรู้ตนเอง พัฒนากลยุทธ์ ปฎิบัติตามกลยุทธ์ - ประเมินตนเอง - รับการป้อนกลับจากผู้อื่น พัฒนากลยุทธ์ - ตั้งเป้าหมายเฉพาะ - ใช้จุดแข็ง ปิดจุดอ่อน - ฝึกอบรมด้านที่เป็นจุดอ่อน - อ่านมาก ๆๆๆ ปฎิบัติตามกลยุทธ์ - สร้างการสนับสนุนทางสังคม - ประเมินความก้าวหน้า

Six value Medals Edward de Bono Silver Steel Gold Brass Wood Glass

Six value medals : the essential tool success in the 21st century องค์กร คุณภาพ คน นวัตกรรม เรียบง่าย คิดสร้างสรรค์ การรับรู้ สิ่งแวดล้อม

คุณค่าคน : Human values  ความต้องการพื้นฐาน สุขภาพ บ้าน นับถือ ไม่เลือกปฏิบัติ ไม่กังวล ไม่รุนแรง  ความต้องการทางจิตวิทยา ยอมรับ ยกย่อง ชื่อเสียง เรียบง่าย ไว้ใจ กำลังใจ จูงใจ สำเร็จ อบอุ่น

นวัตกรรม เรียบง่าย สร้างสรรค์ : Innovation Simplicity Creativity วัฒนธรรม ปัญญา ความคิดใหม่

คุณค่าสภาวะแวดล้อม : Environmental values ผลกระทบต่อ third parties ธรรมชาติ องค์กรอื่น คู่แข่ง ผู้ผลิต เพื่อน ครอบครัว ผลกระทบต่อสังคม ผลกระทบต่อวัฒนธรรม

คุณค่าการรับรู้ : Perceptual Values ปฏิกิริยาคนขึ้นกับการรับรู้ การรับรู้ทางลบ การปรับการรับรู้ การเลือกรับรู้

Problem based Learning (PBL) ระบบการเรียนการสอน ใช้ปัญหาเป็นฐาน ชักนำให้วิเคราะห์ ตั้งวัตถุประสงค์การเรียนรู้ เรียนรู้ด้วยตนเอง

จุดมุ่งหมายการเรียนการสอน PBL ความรู้ในเนื้อหาวิชา พัฒนาทักษะสื่อความหมาย นิสัยใฝ่รู้ เพิ่มพูนปัญญา

องค์กรประกอบ PBL Student – centered Small group tutorial Problem – solving based Integration นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ใช้ - ทดลอง นำมา คิด - วิเคราะห์ แล้วนำไป เพื่อนำไป องค์ความรู้

เงื่อนไขส่งเสริม Activation of prior knowledge Encoding specificity Elaboration of knowledge

กระบวนการเรียนรู้ในกลุ่มย่อย Self – monitoring Formulizing what needs to be learned Selecting learning resource Negotiation the time for self directed learning Resource critique Application of the new learning Debriefing Evaluation

พัฒนาตนเอง เรียนรู้ตนเอง พัฒนากลยุทธ์ ปฎิบัติตามกลยุทธ์ - ประเมินตนเอง - รับการป้อนกลับจากผู้อื่น พัฒนากลยุทธ์ - ตั้งเป้าหมายเฉพาะ - ใช้จุดแข็ง ปิดจุดอ่อน - ฝึกอบรมด้านที่เป็นจุดอ่อน - อ่านมาก ๆๆๆ ปฎิบัติตามกลยุทธ์ - สร้างการสนับสนุนทางสังคม - ประเมินความก้าวหน้า

การบริหารจัดการสมัยใหม่ LO KM BSC CRM Performance Mx Job redesign Ethics Flat/Network Downsizing Outsourcing Team Self control EQ Productivity Quality of Work life Competency Performance appraisal 360° BSC Six sigma นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เกียรติและความสำเร็จ เกิดจากผลการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตัวของแต่ละคนที่สามารถปฏิบัติงาน ในความรับผิดชอบให้ได้ผลสมบูรณ์ ตรงตามวัตถุประสงค์ และปฏิบัติตัวให้สุจริต เที่ยงตรง พอควรพอดี แก่ตำแหน่งหน้าที่ที่ดำรงอยู่ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

ผู้นำไม่ใช่ผู้ที่จะนำคนอื่น คือผู้ที่คนอื่นอยากเดินตาม แต่ผู้นำที่ดี คือผู้ที่คนอื่นอยากเดินตาม อานันท์ ปันยารชุน นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

คุณลักษณะผู้นำภาครัฐ 1. ซื่อสัตย์สุจริต 6. สร้างทีมงาน 2. ยุติธรรม 7. เป็นผู้นำ 3. รับผิดชอบ 8. เสียสละ 4. มีวิสัยทัศน์ 9. วางแผน 5. คิดสร้างสรรค์ 10. มีวุฒิภาวะ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

คุณลักษณะของผู้ใหญ่ 1. รู้จักรัก 2. รู้จักรอ 3. รู้จักพอ 4. รู้จักให้ 5. รู้จักเกรงใจ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

สมรรถนะระดับกลาง สมรรถนะระดับต้น การวางแผนยุทธศาสตร์ การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน การประเมินผลสัมฤทธิ์ ทักษะการทำงานยุคใหม่ การพัฒนาคุณภาพ การนิเทศ / ควบคุมกำกับ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

บริหารนาย 1. แก้ปัญหาให้นาย 2. ยกย่องสิ่งที่นายช่วยเหลือ 3. กระตุ้นให้นายพูด ทำอย่างตั้งใจ 4. ป้อนกลับอย่างสร้างสรรค์ 5. เสนอวิถีใหม่ให้นาย 6. จงรักภักดี 7. ต่อรองบางครั้ง ถ้าไม่ถูกต้อง นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

บริหารเพื่อน 1. ช่วยเพื่อนให้บรรลุเป้าหมาย สำเร็จ 1. ช่วยเพื่อนให้บรรลุเป้าหมาย สำเร็จ 2. เข้าใจปัญหา แลกเปลี่ยนข้อมูล 3. เป้าหมายเดียวกัน ทำด้วยกัน 4. สร้างกลุ่มแก้ปัญหา 5. ดึงเพื่อน นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

บริหารลูกน้อง 1. เพิ่มความไว้ใจ 2. ชม เมื่อทำดี 3. แจ้งความดีลูกน้อง 2. ชม เมื่อทำดี 3. แจ้งความดีลูกน้อง ให้นายทราบ 4. ช่วยแก้ปัญหา 5. ให้ข้อมูลใหม่ 6. ฝึก 7. ไม่รู้บอกว่าไม่รู้ 8. ประเมินสม่ำเสมอ 9. พึ่งพากัน 10.บทบาทชัดเจน นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

บริหารเครือข่าย 1. แลกเปลี่ยนข้อมูล 2. แนะนำ ทำต่อ อ้างอิง 2. แนะนำ ทำต่อ อ้างอิง 3. ความเห็น เสนอแนะ 4. ให้กำลังใจ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

บริหารโครงการ โครงการ : กิจกรรมและงาน ที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ มีจุดเริ่มต้น – สิ้นสุด จำกัดด้วยเงิน และใช้ทรัพยากร บริหารโครงการ : วางแผนโครงการ กำกับโครงการ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

เครื่องมือวางแผนโครงการ * Statement of Work (SOW) * Work Breakdown Structure (WBS) * Program Evaluation and Review Technique (PERT) * Gantt chart * Human Resource Matrix

กำกับโครงการ กำกับ : เวลา เงิน คน ของ กำกับคน กำกับ : เวลา เงิน คน ของ เปรียบเทียบที่ใช้จริง / ที่ประมาณการ กำกับคน * สร้างทีมงาน บูรณาการงาน * ทำให้ คน ทีม หน่วยงาน ทำงานร่วมกัน อย่างราบรื่น พึ่งพากันและกัน * วางคนให้เหมาะสม ตรงที่ เหมาะสมกับเวลา ตรงกับงาน นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

ผู้กำกับที่ดี * ดูแลระบบ * เฝ้าระวังระบบ ไม่เฝ้าระวังคน * ดูแลระบบ * เฝ้าระวังระบบ ไม่เฝ้าระวังคน * ทำงานกับระบบ สอนคน * ปัญหาเกิดจากระบบ ไม่เกิดจากคน นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

การรื้อปรับกระบวนการ 1. งานที่เหนือคู่แข่ง เด่นในตลาดแข่งขัน 2. งานที่เพิ่มคุณค่า ให้งานที่เหนือคู่แข่ง 3. งานสำคัญ งานที่จำเป็นต้องทำ 4. งานไม่สำคัญ แต่ทำเป็นกิจวัตร ตัดออก นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

การรื้อปรับกระบวนการ 1. รวบงานให้เป็นหนึ่ง สร้างทีมงาน 2. มอบอำนาจตัดสินใจ สื่อสาร 3. ทำงานตามธรรมชาติ บริการลูกค้า 4. จัดกลุ่มตามความเร่งด่วน 5. ลดการควบคุม กำกับ เท่าที่จำเป็น นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

กุญแจนักบริหาร 1. ใช้ปัญญา 6. สัมมา สังกัปปะ 1. ใช้ปัญญา 6. สัมมา สังกัปปะ 2. เชื่อมั่น ศรัทธา 7. รักษาศีล 3. เฝ้าระวังตัณหา 8. รู้จักให้ 4. ลบความอยาก 9. เมตตา กรุณา 5. ศึกษาบุคคลแวดล้อมให้ดี 10. ทำให้ดีที่สุด นพ.อมร นนทสุต นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ