กระบวนในการชักจูงใจ
ความหมายของการจูงใจ การจูงใจมาจากภาษาลาตินว่า movere เป็นกระบวนการที่สภาาพทางกายหรือสภาพทางจิดเกิดภาวะไม่เพียงพอ โดยสภาวะจะไปกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมหรือแรงขับมุ่งให้เกิดตามเป้าหมาย เกิดจาก ความต้องการ แรงขับ เป้าหมาย
ลักษณะของแรงจูงใจ 1. แรงจูงใจภายใน (intrinsic motives) 2. แรงจูงใจภายนอก (extrinsic motives จำแนกแนกแรงจูง (clssification of motivs) แรงขับปฐมภูมิ เช่น การหิว ความกระหาย อุณหภูมิ เป็นต้น แรงขับทุติยภูมิ เช่น ความรัก การยอมรับ ความก้าวร้าว
ทฤษฏีของแรงจูงใจ 1. ทฤษฎีเกี่ยวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory) 2. ทฤษฎีของความต้องการและแรงขับ (Theory of needs and drives) 3. ทฤษฎีเกี่ยวกับเหตุกระตุ้นใจ (Incentive theory) 4. ทฤษฎีเกี่ยวกับสัญชาตญาณ (Instinct theory)
5. ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตไร้สำนึก (Theory of unconscious motivation) 6. ทฤษฎีเกี่ยวกับการรู้ (Cognitive theory) 7. ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตวิญญาณ (Spiritual theory) 8. ทฤษฎีความคาดหวัง (Expectancy Theory)
การสร้างแรงจูงใจในการทำงาน แรงกระตุ้นภายใน Internal inspiration แรงกระตุ้นภายนอก External inspiration แนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจในการทำงาน 1. ขวัญและกำลังใจในการทำงาน หมายถึง ความรัก ความศรัทธา
3. ความสัมพันธ์ของคนในหน่วยงาน 2. การเผยแพร่และการแสดงผลงาน 3. ความสัมพันธ์ของคนในหน่วยงาน สิ่งจูงใจให้คนพอใจในการทำงาน มี 5 ประการ ดังนี้ 1. งานสำเร็จลุล่วงด้วยดี 2. ถ้อยทีถ้อยอาศัย 3. สุขใจกับงานที่ปฏิบัติ
บรรยากาศในการทำงาน 4. เร่งรัดและรับผิดชอบ 5. ผลตอบแทนคือความก้าวหน้า 1. สถานที่ทำงาน เป็นสิ่งประกอบที่ทำให้การทำงานมีความสุข 2. ภารกิจหรืองานที่ทำ มีความชัดเจนในภาระหน้าที่ งานมีความต่อเนื่อง มีความมั่นคง
3. เพื่อนร่วมงาน สร้างบรรยากาศการเยี่ยมครอบครัว จัดกิจกรรมนันทนาการ 4. เครื่องอำนวยความสะดวกในการทำงาน มีเครื่องทุนแรง ห้องสมุด ห้องทดลอง ห้องปฏิบัติการ 5. การรับทราบข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัยเกี่ยวกับงานของตน -รับทราบข่าวสารจากหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ โทรสาร หรือการไปศึกษาดูงาน