การระดมทุนจากปัจเจกบุคคล การอบรมเชิงปฏิบัติการว่าด้วยการระดมทรัพยากรในประเทศไทย ครั้งที่ ๑ วันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๑ โดย ดร.วรพัฒน์ อรรถยุกติ Senior Fellow Kenan Institute Asia
ความพยายามก่อตั้งมูลนิธิชุมชนในประเทศไทยที่ผ่านมา
มูลนิธิชุมชนคืออะไร ในสหรัฐอเมริกาหรือแคนาดาเป็นอย่างหนึ่ง ในประเทศยากจนเป็นอีกอย่าง ในประเทศยากจนมากเป็นอีกอย่าง
หรือ “ความรับผิดชอบต่อสังคมของประชาชนเป็นรายบุคคล” หลักการของ ISR ISR = Individual Social responsibility หรือ “ความรับผิดชอบต่อสังคมของประชาชนเป็นรายบุคคล”
ตัวอย่าง ตัวอย่างการให้ในสังคมไทยปัจจุบัน กฐินผ้าป่า ทำบุญใส่ตู้ ทำบุญในพระศาสนา ทำทานผ่านพระสงฆ์ เปิดกองทุนที่ ร.พ. สงฆ์ หรือวัด อาสาสมัครเพื่อสาธารณประโยชน์ จากสถิติสังคมไทยบริจาคมากเมื่อเทียบกับประเทศในภาคพื้นนี้ การพัฒนาแนววิธีการให้ - โดยเฉพาะการให้จากปัจเจกบุคคล การตั้งกองทุนศิษย์เก่ามหาวิทยาลัย การบริจาคสิ่งของมีค่าให้พิพิธภัณฑ์ มูลนิธิ หรือองค์กรที่ทำหน้าที่ “บริหารระบบการให้” ทำหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ให้กับผู้รับ (กรุณาดูภาพ)
องค์กรที่ทำหน้าที่ “บริหารระบบการให้” องค์กรที่ทำหน้าที่ “บริหารระบบการให้” ผู้ต้องการให้ กิจกรรมที่ผู้ให้ต้องการทำ จุดเริ่มต้น - ผู้ต้องการให้ต้องการทำให้เกิดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม องค์กรมีหน้าที่เสนอ menu กิจกรรมการให้ ต่อผู้ต้องการให้ ผู้ต้องการให้บริจาคเพื่อดำเนินกิจกรรม ผ่านองค์กรกลาง โดยผู้อื่นดำเนินการ วิธีการให้มีหลายวิธี โดยสรุป – ระบบการให้โดยปัจเจกบุคคลจะสำเร็จได้หากกิจกรรมที่องค์กรกลางเสนอกระตุ้นความสนใจของผู้ให้ ดังนั้นต้อง customize การให้
สรุป การระดมเงินจากปัจเจกบุคคล ไม่ควรมองข้ามไป (ใน CF ที่สหรัฐเงินจากปัจเจกบุคคล มีมากกว่าเงินจากบริษัทเอกชน) เมื่อผู้ให้มีแนวคิดที่พิถีพิถันในการ “ให้” ผลกระทบต่อสังคมต่อเม็ดเงินที่ลงไปอาจจะสูงได้ แนวคิดเหล่านี้อาจจะเป็น Social Innovations ที่น่าสนใน การระดมทุนจากปัจเจกบุคคล จำเป็นต้องพัฒนาบุคลากรที่จะเข้าบริหาร “องค์กรกลาง” ขอตั้งความหวังว่าจะมีความพยายามที่จะพัฒนาผู้บริหาร “องค์กรกลาง” แบบนี้ ซึ่งอาจจะใช้กรอบของมูลนิธิที่มีอยู่แล้ว เป็นการทดลอง เพราะความสำเร็จอยู่ที่คนบริหารที่เข้าใจจิตใจของปัจเจกบุคคล