ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันเกิดจากการพัฒนา การปรับตัว ปรับวิถีชีวิตของคนในภาคใต้ที่ประกอบด้วยคนไทยและอีกหลายชาติพันธุ์ที่อยู่ร่วมกันในคาบสมุทรมีคนมาเลย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศาสนพิธี.
Advertisements

โรงเรียนภัทรญาณวิทยา
ชื่อผู้จัดทำ ด.ญ.อัยยา นพรัตน์ ป.4/2 เลขที่22
ประเพณีต่างๆ โดย รศ. สุทธิชัย ยังสุข คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
พิธีกรรมต่างๆ พิธีกรรม =แบบอย่างในการกระทำหรือวิธีปฏิบัติ
วัฒนธรรมและภูมิปัญญา มยุรฉัตร ผิวอ่อนดี ร.ร. ดงเจนวิทยาคม จ.พะเยา
ศาสนพิธี และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
บ้านทุ่งหว้า หมู่ 4 ต.คึกคัก อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา
เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
วัฒนธรรมของประเทศลาว
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
เรื่อง อาหารไทย ๔ ภาค จัดทำโดย
โครงงาน ศาสนพิธี.
ภูมิปัญญาไทย.
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
สิ่งแวดล้อมรอบตัว.
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
ไทยสบาย หรือไทยสปายะ (Thai Spaya)
Happy 8 8 Boxes of Happiness
ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ
การรำ โนรา ชาตรี โรงเรียนอนุบาลวังม่วงอ.วังม่วง จ.สระบุรี
ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้
ภาคใต้สมัยก่อนประวัติศาสตร์
ความหมายของชุมชน (Community)
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ระบบความเชื่อ.
สมัยโชมอน.
แหล่งท่องเที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี โดย เด็กหญิง ณภาภัช โรจนกุล
วันลอยกระทง โดย ด.ญธัญผกา อุตสานนท์ ด.ญ.ธารารัตน์ ทั่งดี
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
ด. ช. จิรายุทธ คำพา ป4.1 เลขที่ 1
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ศาสนพิธี ในวิถีสังคมไทย
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
รู้และเข้าใจเรื่องของชีวิต
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
ขนมไทย รหัส ศักราช เสือหิน.
ศาสนพิธี สำหรับชาวพุทธ.
ผลงาน โครงการ และ เกียรติประวัติ.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ภาคใต้.
สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ภูมิภาคเอเชียใต้ มีรูปร่างเป็นรูปสามเหลี่ยม มีลักษณะเหมือนรวงผึ้งที่มีน้ำผึ้งกำลังหยด ประกอบด้วย 7 ประเทศ โดยตั้งอยู่บนภาคพื้นทวีป 5 ประเทศ คือ อินเดีย.
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
What is the Wisdom ?.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
จัดทำโดย นายธีรภัทร บัวเนียม เสนอต่อ อาจาร์ยสมคิด มีมะจำ
โครงการข้อมูล ท้องถิ่น
ประเพณีลอยเรือ.
จัดทำโดย นางสาวปวีณา พริ้งเพราะ.  ความเป็นมา  การกินเจ มีมาตั้งแต่บรรพ กาล ซึ่งชาวจีนถือปฏิบัติ เป็นประเพณีสืบต่อกันมา ช้านานเทศกาลกินเจจะ เริ่มตั้งแต่
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
บทที่ 4 เทคโนโลยี.
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
หน้าหลัก สมาชิก ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีของภาคกลาง
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
ประวัติวันตรุษจีน ด.ช. พลพล สาลีทอง ป.4/2 เลขที่.2
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
เล่าจื๊อผู้ให้กำเนิดลัทธิเต๋า
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันเกิดจากการพัฒนา การปรับตัว ปรับวิถีชีวิตของคนในภาคใต้ที่ประกอบด้วยคนไทยและอีกหลายชาติพันธุ์ที่อยู่ร่วมกันในคาบสมุทรมีคนมาเลย์ คนจีน และคนที่มาจากอินเดียฝ่ายใต้ แต่กลุ่มชนที่มีจำนวนมากที่สุดคือ ไทยสยาม โดยสภาพภูมิศาสตร์ที่เป็นแหลมทอง มีทะเลกว้างใหญ่ขนาบอยู่ทั้งสองข้าง มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ ทั้งในทะเล และบนแผ่นดิน อันล้วนเป็นเขตมรสุมใกล้เส้นศูนย์สูตร มีผู้คนหลายชาติ หลายภาษา หลายวัฒนธรรมเดินทางมาทั้งทางบกและทางทะเลเพื่อมาตั้งหลักแหล่ง แสวงหาโภคทรัพย์และทำมาค้าขายเป็นเวลาติดต่อกันยาวนานกว่าพันปี มีการตั้งถิ่นฐานทำมาหากินกันหลายลักษณะ ทั้งบริเวณชายทะเล ที่ราบระหว่างชายทะเลกับเทือกเขา หลังเขา และตามสายน้ำน้อยใหญ่จำนวนมากที่ไหลจากเทือกเขาลงสู่ทะเลทั้งสองด้าน ภูมิปัญญาของภาคใต้จึงมีความหลากหลาย ทั้งที่ได้พัฒนาการจากการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ หรือคนต่างถิ่นที่พกพามาจากแหล่งอารยะธรรมต่างๆจนหลอมรวมกัน เกิดเป็นภูมิปัญญาประจำถิ่น ซึ่งมีอยู่ในหลายลักษณะ คือ  

ภูมิปัญญาในด้านประเพณีความเชื่อ ภูมิปัญญาในด้านศิลปะการแสดง ภูมิปัญญาในด้านกีฬาการละเล่น ภูมิปัญญาในด้านอาหารการกิน ภูมิปัญญาในด้านสิ่งของเครื่องใช้พื้นบ้าน 

แต่เนื่องจากประเพณีมีมากจึงขอนำมากล่าวเฉพาะที่สำคัญ ในสมัยวัฒนธรรมทองที่ยังพอมีลมหายใจอยู่บ้าง และได้เข้าใจว่าเรื่องเหล่านี้มีบทบาทอิทธิพลเสมือนยาดำ ต่อการจัดระเบียบทางสังคมและการดำรงคุณธรรมของชาวบ้าน ได้อาศัยศาสนาเป็นแกนและใช้วัฒนธรรมประเพณีเป็นตัวช่วยให้เกิดบูรณาการ (Integration) เติมเต็ม ทำให้คนพื้นเมืองมีอัตลักษณ์และมีคุณภาพมีจริยธรรมสามารถรักษาสถาบันทางสังคมเข็มแข็งที่เป็นลักษณะเฉพาะ (Unique Strength) เป็นมรดกล้ำค่าน่าภูมิใจและเป็น “ต้นทุนชีวิต” สืบมาได้จากวันนี้

ประเพณีและพิธีกรรมตามความเชื่อ ของคนภาคใต้ เรื่องวัฒนธรรม และประเพณีในวิถีชีวิตชาวใต้ที่เกิดขึ้นมีทั้งในรอบปี และในรอบตลอดชีวิต เป็นอย่างไร และมีอะไรบ้างนั้น เราอาจแบ่งได้เป็น ๓ ประเภทคือ ๑. ประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนาโดยตรง เช่น วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา เทศกาลเข้าพรรษา-ออกพรรษา การเข้าสุหนัต การละหมาด ซากัด การแสวงบุญ  

๒. ประเพณีที่มีการสืบเนื่องจากศาสนา เช่น การเวียนเทียน การบวชเรียน การรับ-ส่งตา-ยา ในงานบุญเดือนสิบ ประเพณีลากพระ การลอยกระทง งานเมาลิด การถือศีลอด การอ่านคัมภีร์กุรอ่าน การสวดอาซาน การถือศีลกินเจ

๓. ประเพณีที่จัดให้มีขึ้นตามฤดูกาลหรือวาระ เช่น งานแรกนาขวัญ งานแข่งเรือ งานบวชนาค งานสมรส งานทำศพ งานให้ทานไฟ งานสงกรานต์ งานทำบุญ หมู่บ้าน ราญอฮัจยี เป็นต้น

ประเพณีในวิถีชีวิตชาวใต้ที่เกิดขึ้นในรอบ ตลอดชีวิต และมีอะไรบ้างนั้น การเกิด ผูกเปล โกนผมไฟ บวช แต่งงาน ดูดวงผูกชะตา สู่ขอ แยบ หมั้น แต่ง ดูฤกษ์ผานาที

ขึ้นบ้านใหม่ สวดบ้าน ไหว้นา ไหว้สวน ไหว้เจ้าที่ พระภูมิ สวดรับเทดา /เทียมดา / เทวดา

การเจ็บป่วย รักษา หาหมอ ต้มยา รดน้ำมนต์ ทำบุญสะเดาะเคราะห์ บริจาคทาน สวดอ้อนวอนสิ่งศักดิ์สิทธิ์

การตายจัดทำพิธีตามประเพณีความเชื่อของแต่ละศาสนา สวดอภิธรรมทำบุญอุทิศส่วนกุศล / สวดดูอา เผา / ฝัง ลอยอังคาร/ทำบุญบังสุกุลบัว /กระดูก เช้งเม้ง / ไหว้หลุมศพ