ปรับปรุงครั้งล่าสุดเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
SET Listing Requirements 2005
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
แนะนำกองทุนรวมจากบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวมชั้นนำ
กองทุนรวมของ MFC.
ค่าของทุน The Cost of Capital
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
สมาชิกเลือกนโยบายลงทุนด้วยตนเอง นำเสนอต่อ
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 31 พฤษภาคม 2552
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 30 กันยายน 2552
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 30 มิถุนายน 2552 พันธบัตรรัฐบาล 196 ล้านบาท = 34.56% เงินฝากธนาคาร 212 ล้านบาท = 37.47% ตราสารหนี้ธนาคารรับรอง 30 ล้านบาท = 5.34%
“สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย”
การดำเนินการ เพื่อกำหนดเป็นมาตรฐานให้บริษัทจัดการสามารถดำเนินธุรกิจในการจัดการกองทุนของตนด้วยความโปร่งใส และคำนึงถึงประโยชน์ของผู้ลงทุนเป็นสำคัญ สำนักงานได้ออกประกาศที่
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
การวางแผน เพื่อการเกษียณ
วิกฤติเศรษฐกิจ ส่งผลกระทบอย่างไร. วิกฤติเศรษฐกิจ ส่งผลกระทบอย่างไร.
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
กรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยหลัก
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
บริษัท อเมริกัน อินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งจดทะเบียนแล้ว สถานะกองทุน มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ
รายงานผลการดำเนินงานของกองทุนรายเดือน
บริษัท อเมริกัน อินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งจดทะเบียนแล้ว สถานะกองทุน มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ
บริษัท อเมริกัน อินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งจดทะเบียนแล้ว สถานะกองทุน มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งจดทะเบียนแล้ว
บริษัท อเมริกัน อินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งจดทะเบียนแล้ว สถานะกองทุน มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ
1.
กบข. นำเงินสมาชิก ไปทำอะไร. กบข. นำเงินสมาชิก ไปทำอะไร.
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
1.
การจัดส่งแบบรายงาน Basel II
การจัดประชุมชี้แจง รายงานการลงทุนในหลักทรัพย์ในต่างประเทศ
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
1 ประกาศเรื่อง การลงทุนและ การมีไว้เพื่อเป็นทรัพย์สินของ กองทุน.
คณะกรรมการกองทุน..... บทบาทเพื่อสมาชิก โดย นายธารทอง ไตรน รพงศ์ อุปนายกสมาคมกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ.
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ทิศทางของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หลังจัดตั้ง กบช. ปี 2550
ความสำคัญของการออม เพื่อเกษียณอายุ
การพัฒนาระบบการออมเพื่อเกษียณอายุ
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.03 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การจัดทำงบการเงินประจำปี ประกอบด้วย.
การจัดทำงบการเงินประจำปี ประกอบด้วย.
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
Investment Forum March 1, Wealth Asset Recommendation สินทรัพย์ สภาพ คล่อง เงินฝากออมทรัพย์ พิเศษ กองทุนพันธ์บัตร ระยะสั้น ผลตอบแทน และสภาพคล่องสูง.
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
บทที่ 4 การดำรงเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
มาตรฐานสากลของระบบคุ้มครองเงินฝาก
Portfolio Model Aggressive Conservative 50% 25% 0% 75% 25% 50% 75% 100%
ความรู้กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
บริษัท อเมริกัน อินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งจดทะเบียนแล้ว สถานะกองทุน มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ
บริษัท อเมริกัน อินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งจดทะเบียนแล้ว สถานะกองทุน มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปรับปรุงครั้งล่าสุดเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551 การอบรมสัมมนาคณะกรรมการกองทุน หลักสูตร Advance FC Course “การวัดผลการดำเนินงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ” ปรับปรุงครั้งล่าสุดเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551

การวัดผลการจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Provident Fund Investment Performance)

วัตถุประสงค์ของการวัดผลการจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เพื่อเป็นการส่งเสริมพัฒนาธุรกิจการจัดการกองทุนสำรอง เลี้ยงชีพ สามารถแสดงเปรียบเทียบผลการจัดการของกองทุน สำรองเลี้ยงชีพในมาตรฐานเดียวกันได้

ประเภทกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ประเภทของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ตามประกาศ ก.ล.ต. กองทุนที่มีนโยบายลงทุนทั่วไป กองทุนที่มีนโยบายลงทุนพิเศษ FIF Specific Fund Index Fund กองทุน ตราสารทุน กองทุน ตราสารหนี้ กองทุนผสม Guaranteed Fund Fund of Fund

การคำนวณผลการจัดการกองทุน - รายกองทุน อัตราผลตอบแทน รายเดือน ( Ri ) UVm i - 1 UVm i -1 อัตราผลตอบแทนสะสม [ (1+R1) (1+R2) (1+R3) ….(1+R12) ] - 1

การคำนวณอัตราผลตอบแทนรายเดือน การคำนวณผลการจัดการกองทุน - รายกองทุน UVmi - 1 UVmi -1 ตัวอย่าง การคำนวณอัตราผลตอบแทนรายเดือน 31 ธ.ค. ’50 31 ม.ค. ’51 29 ก.พ. ’51 31 มี.ค. ’51 Unit Value “UV” (บาท/หน่วย) 11.0000 11.0700 11.1800 11.1600 R1 = 11.0700 - 1 11.0000 = 0.36% = 0.99% R2 = 11.1800 - 1 11.0700 = - 0.18% R3 = 11.1600 - 1 11.1800

การคำนวณผลการจัดการกองทุน - รายกองทุน [ (1+R1) (1+R2) ….(1+R12) ] - 1 ตัวอย่าง การคำนวณอัตราผลตอบแทน สะสม 31 ธ.ค. ’50 31 ม.ค. ’51 29 ก.พ. ’51 31 มี.ค. ’51 R1 = 0.36% R2 = 0.99% R3 = - 0.18% อัตราผลตอบแทนสะสมตั้งแต่ ม.ค.-มี.ค. ’51 = [ (1+0.36%) (1+0.99%) (1+ (-0.18%)) ] - 1 = 1.17%

เกณฑ์อ้างอิง (Benchmark)

เกณฑ์อ้างอิงผลการดำเนินงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Benchmark) บริษัทจัดการต้องมีการตกลงกับคณะกรรมการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ภายใต้การบริหารจัดการของคนทุกกองทุน ถึงเกณฑ์อ้างอิงผลการ ดำเนินงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยเป็นเกณฑ์อ้างอิงผสม (Composite Benchmark) ที่ต้อง สอดคล้องกับทรัพย์สินการลงทุน ตามน้ำหนักที่สะท้อนความเสี่ยงการ ลงทุนของนโยบายการลงทุน (Investment Policy) ซึ่งคณะกรรมการ กองทุนและบริษัทจัดการได้ตกลงกันไว้เป็นลายลักษณ์อักษร”

ทำไมจึงต้องมีเกณฑ์อ้างอิง ? 4

ทำไมจึงต้องมีเกณฑ์อ้างอิง ? 7

ทำไมจึงต้องมีเกณฑ์อ้างอิง ? กองทุนตราสารหนี้ กองทุนตราสารหนี้ “No Corp. Bond” Gov. + Corp. Bond กองทุนตราสารหนี้ กองทุนตราสารหนี้ “Duration < 2 yrs.” “Duration < 4 yrs.” กองทุนผสม กองทุนผสม Equity < 10% Equity < 35% กองทุนตราสารทุน กองทุนตราสารทุน A B จัดตั้ง 2 ม.ค. 51 จัดตั้ง 1 ก.ค. 50 SET Index = 842.97 SET Index = 792.71

เกณฑ์อ้างอิงผลการดำเนินงาน PVD (Benchmark) ทรัพย์สินกองทุน อัตราดอกเบี้ย เงินฝากประจำ 1 ปี วงเงิน 1 ล้านบาท เฉลี่ยของ BBL, KBANK, SCB, KTB หรือ อัตราเงินเฟ้อ (Inflation) BM ในอดีต Composite BM ซึ่งประกอบด้วย BM 1 X % BM 2 Y % BM 3 Z % BM ใหม่ 1. เงินฝาก ตราสารหนี้ , ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ 3. ตราสารทุน

TBMA Corporate Bond Index Return หรือ TBMA Composite Bond Index Return ทรัพย์สินกองทุน BM 1. เงินฝาก 3. ตราสารทุน ตราสารหนี้ , ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ - ภาครัฐ - ภาคเอกชน - สถาบันการเงิน - ไม่ใช่สถาบันการเงิน อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปี ที่กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพึงได้รับ วงเงิน 1 ล้านบาท เฉลี่ยของ BBL, KBANK, SCB, KTB TBMA Corporate Bond Index Return หรือ TBMA Composite Bond Index Return SET Index Return หรือ SET Total Return Index SET 50 Index Return

เกณฑ์อ้างอิงผลการดำเนินงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Benchmark) ทรัพย์สินกองทุน BM 1. ทรัพย์สินที่เป็นตราสารทุน (Equity Instrument) SET Index Return หรือ SET Total Return Index หรือ SET 50 Index Return 2. ทรัพย์สินในเงินฝากประเภทประจำ (Fixed Deposit) อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปี ที่กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพึงได้รับ วงเงิน 1 ล้านบาท เฉลี่ยของ BBL, KBANK, SCB, KTB

เกณฑ์อ้างอิงผลการดำเนินงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Benchmark) ทรัพย์สินกองทุน BM 3. ทรัพย์สินตราสารหนี้ (Debt Instrument) 3.1 ตราสารหนี้ภาครัฐ ชำระคืนเมื่อทวงถาม หรือจะครบกำหนดชำระคืนภายในระยะ เวลาไม่เกิน 1 ปี “ZRR” Government Bond Index Return ที่อายุ 6 เดือน 3.2 ตราสารหนี้ทั่วไป ชำระคืนเมื่อทวงถาม หรือจะครบกำหนดชำระคืนภายในระยะ เวลาไม่เกิน 1 ปี “ZRR” Government Bond Index Return ที่อายุ 6 เดือน 3.3 ตราสารหนี้ภาครัฐ ระบุ Target Duration ของกองทุนที่ชัดเจน “ZRR” Government Bond Index Return ที่อายุของ Target Duration

เกณฑ์อ้างอิงผลการดำเนินงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Benchmark) ทรัพย์สินกองทุน BM 3.4 ตราสารหนี้ภาครัฐ แต่ไม่มีการระบุ Target Duration ThaiBMA Government Bond Index Return 3.5 ตราสารหนี้ทั่วไป และมีการระบุ Target Duration “ZRR” Composite Bond Index Return ที่อายุของ Target Duration * 3.6 ตราสารหนี้ทั่วไป แต่ไม่มีการระบุ Target Duration ThaiBMA Composite Bond Index Return * กรณีที่ยังไม่สามารถหาข้อมูลเกณฑ์อ้าง “ZRR” Composite Bond Index Return ที่อายุของ Target Duration ของนโยบายการลงทุนของกองทุนนั้นๆ ได้ อนุโลมให้ใช้เกณฑ์อ้างอิง “ZRR” Government Bond Index Return ที่อายุของ Target Duration ของกองทุนนั้นไปก่อน

การเลือกใช้ BM – ตัวอย่างที่ 1 ทรัพย์สินกองทุน BM Inv. Policy 1. เงินฝาก เงินฝาก -ไม่กำหนด Max limit ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ ตราสารทุน < 20% TBMA Composite Bond Index Return ตราสารหนี้ , ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ - ภาครัฐ - ภาคเอกชน= สถาบันการเงิน = สถาบันการเงิน SET Index Return/ SET Total Return Index/ SET 50 Index Return 3. ตราสารทุน

การเลือกใช้ BM – ตัวอย่างที่ 2 ทรัพย์สินกองทุน BM Inv. Policy 1. เงินฝาก เงินฝาก -ไม่กำหนด Max limit ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ ตราสารทุน < 20% Avg. 1-Yr. FD i ฿1MM. for PVD BBL,KBANK,SCB,KTB TBMA Composite Bond Index Return SET Index Return ตราสารหนี้ , ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ - ภาครัฐ - ภาคเอกชน= สถาบันการเงิน = สถาบันการเงิน 3. ตราสารทุน

การเลือกใช้ BM – ตัวอย่างที่ 3 ทรัพย์สินกองทุน BM Inv. Policy กำหนด ใน Inv. Policy ว่า Port Duration < 2.5 ปี เงินฝาก -ไม่กำหนด Max limit ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ -ไม่กำหนด Max limit 3. ตราสารทุน < 20% Avg. 1-Yr. FD i ฿1MM. for PVD BBL,KBANK,SCB,KTB ThaiBMA Government Bond Index Return 3. SET Index Return เงินฝาก ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ - ภาครัฐ - ภาคเอกชน - สถาบันการเงิน - ไม่ใช่สถาบัน การเงิน 3. ตราสารทุน

การเลือกใช้ BM – ตัวอย่างที่ 4 ทรัพย์สินกองทุน BM Inv. Policy เงินฝาก -ไม่กำหนด Max limit ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ -ไม่กำหนด Max limit 3. ตราสารทุน < 20% Avg. 1-Yr. FD i ฿1MM. for PVD BBL,KBANK,SCB,KTB “ZRR” Gov.Bond Index Return ที่ 2 ปี 3. SET Index Return เงินฝาก ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ - ภาครัฐ - ภาคเอกชน - สถาบันการเงิน - ไม่ใช่สถาบัน การเงิน 3. ตราสารทุน

การเลือกใช้ BM – ตัวอย่างที่ 5 ทรัพย์สินกองทุน BM Inv. Policy กำหนด ใน Inv. Policy ว่า Port Duration < 3 ปี เงินฝาก -ไม่กำหนด Max limit ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ -ไม่กำหนด Max limit 3. ตราสารทุน < 20% Avg. 1-Yr. FD i ฿1MM. for PVD BBL,KBANK,SCB,KTB “ZRR” Gov. Bond Index Return ที่ 3 ปี 3. SET Index Return weight = 100% เงินฝาก ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ - ภาครัฐ - ภาคเอกชน - สถาบันการเงิน - ไม่ใช่สถาบัน การเงิน 3. ตราสารทุน

การเลือกใช้ BM – ตัวอย่างที่ 6 ทรัพย์สินกองทุน BM Inv. Policy เงินฝาก -ไม่กำหนด Max limit ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ -ไม่กำหนด Max limit 3. ตราสารทุน < 20% Avg. 1-Yr. FD i ฿1MM. for PVD BBL,KBANK,SCB,KTB “ZRR” Gov.Bond Index Return ที่ 3 ปี SET Index Return weight = 10% (min. + max.) 2 เงินฝาก ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ - ภาครัฐ - ภาคเอกชน - สถาบันการเงิน - ไม่ใช่สถาบัน การเงิน 3. ตราสารทุน

แนวทางในการกำหนดเกณฑ์อ้างอิงที่เหมาะสม เลือกตัวเกณฑ์อ้างอิง (Benchmark) ที่สะท้อนผลการดำเนินงาน ได้ดีที่สุด กำหนดน้ำหนักของเกณฑ์อ้างอิง - ที่สะท้อนผลการดำเนินงานได้ดีที่สุด - ให้ผู้จัดการใช้ความพยายามในการสร้างผลตอบแทนกองทุน ที่ดีกว่าเกณฑ์อ้างอิง (BM) - สะท้อนความคาดหมายใน ผลตอบแทน (Expected Return) และ ความสามารถในการรับความเสี่ยง (Risk Tolerance) กรณีที่ ผลตอบแทนไม่เป็นตามความคาดหมายของผู้ลงทุน

การเปิดเผยและการนำเสนอข้อมูล การวัดผลการดำเนินงานและ Benchmark ในการนำเสนอข้อมูล Benchmark ของแต่ละกองทุน บริษัทจัดการ ต้องเปิดเผยข้อมูล Benchmark ของแต่ละ กองทุนต่อ FC เป็นประจำทุกเดือน ภายในระยะเวลา เดียวกันกับการเปิดเผยผลการดำเนินงานกองทุน หากระยะเวลาแสดงผลการดำเนินงานยังไม่ครบ 12 เดือน ให้แสดงข้อมูลตามจริงที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้น โดยแสดง เป็น YTD หรือ Since Inception ห้ามทำเป็นอัตรา ผลตอบแทนต่อปี (Annualized)