การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ???

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ช่วยลูกเตรียมพร้อม... พ.ญ.นัทธ์ชนัน จรัสจรุงเกียรติ
Advertisements

สุดยอดเทคนิค (คำแนะนำ) ของฉัน
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ของเด็กแต่ละวัย
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
โรงเรียนอนุบาลหมู่บ้านเด็ก สานรัก
กิจกรรม Rating Game.
กิจกรรม คุณติดเกมมากแค่ไหน
การสร้างความผูกพัน (กอด)
การเฝ้าระวังนักเรียน นักศึกษา ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาหลักสูตรสถานเลี้ยงเด็ก
โรคสมาธิสั้น.
เรื่อง วัยรุ่น เสนอ คุณครู สุดารัตน์ นันทพานิช
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
การดู.
จิตวิทยาการบริหารทีมงาน
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
พัฒนาการทางด้านสติปัญญาของวัยรุ่น
อารมณ์และความต้องการของวัยรุ่น
พัฒนาการด้านสังคมของเด็ก
การเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
กิจกรรมนันทนาการ.
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
หน่วยที่ 5 ภาษาทางสื่อ ภาพยนตร์.
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
บันทึกการประชุม ห้อง สื่อใหม่กับการรู้เท่าทันสื่อ การสัมมนาวิชาการเท่าทันสื่อ ครั้งที่ ๑ ไทย-ทัน-สื่อ มหกรรมการเรียนรู้เท่าทันสื่อแห่งชาติ ครั้งที่ ๑.
แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
การส่งเสริมพัฒนาการและพฤติกรรมเด็กอย่างสร้างสรร
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สื่อกับ การรับรู้ของเด็ก
เรื่อง การใช้หนังสือเพื่อส่งเสริมพัฒนาการลูกรัก (เล่า)
การสร้างวินัยเชิงบวก
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
สุขภาพจิต ภาวะความสมบูรณ์ของจิตใจ มีพัฒนาการด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างสมบูรณ์ เหมาะกับวัย.
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
เห็นภาพนี้หมุนทวนเข็ม หรือ ตามเข็มนาฬิกา
กิจวัตรและกิจกรรมในหนึ่งวันของเด็กๆ
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การฟังเพลง.
แนวทางในการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
ความรับผิดของผู้ประกอบธุรกิจสื่อทางเพศบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
Child Study Why…….? 1 ทำให้เราได้ตระหนักถึง ความเป็นปัจเจกภาพของเด็ก แต่ละคนมากขึ้น 2. เปิดโอกาสให้เรามองเห็น ของขวัญที่เด็กนำมาจากโลก จิตวิญญาณ ( เด็กทุกคนนำ.
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
พัฒนาการเด็กปฐมวัย & โครงการพัฒนาIQ EQ เด็กแรกเกิด-5 ปี
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
สื่อโทรทัศน์กับ การรับรู้ของเด็ก
ระบบการจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์
การปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
คุณค่าของสื่อ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ??? อ.อิทธิพล ปรีติประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ม.มหิดล

ทำไมต้องมีการจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ ??? (๑) ทำไมต้องมีการจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ ???

ทำไมต้องจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ วัยของเด็กกับการรับรู้สื่อ

โอกาสในการเลียนแบบจากสื่อ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการรับรู้สื่อ ของเด็กและเยาวชน (พญ.พรรณพิมล หล่อตระกูล) พฤติกรรมการรับสื่อ พื้นฐานภูมิหลัง ของเด็กแต่ละคน วัย ของเด็ก

กิจกรรมที่เหมาะกับการเรียนรู้ของเด็กคือการใช้ประสาทสัมผัสทุกด้าน ค้นคว้าเรียนรู้สิ่งที่อยู่รอบตัว ด้วยการเคลื่อนไหวร่างกาย สัมผัส จัดการเรียนรู้ผ่านความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดจากผู้เลี้ยงดู และกระทำการเรียนรู้ซ้ำๆจนเกิดการบันทึกจดจำ โทรทัศน์ “ดึง” ให้เด็กจ้องมองที่หน้าจอที่มีแสงสว่าง มีการเคลื่อนไหวภาพที่รวดเร็ว เด็กไม่มีโอกาสเรียนรู้แบบโต้ตอบกับสิ่งที่รับเข้ามา และยังมีความเสี่ยงจากแสงสว่างที่วาบขึ้นมาเป็นระยะ รวมทั้งการไม่ได้เคลื่อนไหว 3 – 5 ปี 6 – 12 ปี 13 – 18 ปี 0 – 3 ปี

เด็กเริ่มพัฒนาการเรียนรู้จากการเล่นแบบสมมุติ ชอบการทดลอง การเลียนแบบ มีพัฒนาการด้านภาษา สามารถรับรู้อารมณ์ได้ ระบบคิดจะยังไม่สามารถแยกระหว่างความจริงกับจินตนาการ การรับรู้ผ่านสื่อจะรับรู้ข้อมูลแบบซึมซับว่าเป็นจริง เลียนแบบพฤติกรรมที่เห็น ไม่สามารถตัดสินใจแยกแยะได้ด้วยตนเองถึงอันตรายที่จะตามมา การรับชมภาพที่น่าหวาดกลัวจะสร้างความตื่นตระหนก และมองว่าสิ่งแวดล้อมภายนอกน่ากลัว นอกจากนี้การรับชมมากเกินไปทำให้รบกวนการพัฒนาด้านสมาธิ 0 – 3 ปี 6 – 12 ปี 13 – 18 ปี 3 – 5 ปี

0 – 3 ปี 3 – 5 ปี 13 – 18 ปี 6 – 12 ปี เด็กจะมีความอยากรู้อยากเห็น มีประสบการณ์ทางสังคมเพิ่มมากขึ้น เป็นวัยที่สร้างการเรียนรู้การมีวินัยและความรับผิดชอบ แยกแยะการใช้เวลาเล่นกับการเรียนรู้ ยังมีลักษณะการเลียนแบบสูง เนื่องจากระบบคิดยังอยู่ในช่วงการพัฒนาความเป็นเหตุเป็นผล การแยกแยะข้อมูลที่ได้รับว่ามีความหมายเช่นไร มีแนวโน้มสูงที่จะทดลองด้วยการเลียนแบบพฤติกรรมโดยไม่เข้าใจความหมายของพฤติกรรมนั้นๆ และยังสร้างค่านิยมต่อพฤติกรรมที่รับรู้ผ่านสื่อว่าเป็นค่านิยมที่ยอมรับทางสังคม 0 – 3 ปี 3 – 5 ปี 13 – 18 ปี 6 – 12 ปี

0 – 3 ปี 3 – 5 ปี 6 – 12 ปี 13 – 18 ปี เป็นวัยที่มีการพัฒนาระบบคิด การรับรู้แยกแยะวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับ มีประสบการณ์ทางสังคมเพิ่มมากขึ้นตามวัย ต้องการการยอมรับและเลือกรับสิ่งที่เป็นตามกระแสหลักได้ง่าย เป็นวัยที่มีการแสวงหาต้นแบบในอุดมคติ นักร้อง นักดนตรี ดารา เป็น Idol ของเด็กวัยรุ่น โดยเฉพาะการนำเสนอที่สร้างภาพลักษณ์ สร้างความรู้สึกร่วม จะมีอิทธิพลมากต่อความคิดและพฤติกรรมของวัยรุ่น นอกจากนี้เด็กจะมีความต้องการเป็นแบบผู้ใหญ่ อยากแสดงพฤติกรรมเลียนแบบผู้ใหญ่เพื่อแสดงว่าตนเองโตแล้ว 0 – 3 ปี 3 – 5 ปี 6 – 12 ปี 13 – 18 ปี

การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์คืออะไร (๒) การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์คืออะไร

เรตติ้ง การกลั่นกรองเนื้อหา Rating ความนิยมเชิงปริมาณ 04/04/60 การจัดระดับความเหมาะสมของสื่อแต่ละประเภท (Rating) นิยามและทางปฏิบัติ เรตติ้ง Rating การกลั่นกรองเนื้อหา ความนิยมเชิงปริมาณ จำแนกเนื้อหารายการ วัดระดับคุณค่าเชิงความรู้ 10

04/04/60 ๑.การกลั่นกรองเนื้อหา 11

04/04/60 ๑.การกลั่นกรองเนื้อหา 12

04/04/60 ๑.การกลั่นกรองเนื้อหา 13

04/04/60 ๑.การกลั่นกรองเนื้อหา 14

04/04/60 ๒.ความนิยมเชิงปริมาณ 15

๓.การจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุ 04/04/60 ๓.การจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุ 16

๓.การจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุ

๓.การจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุ

๓.การจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุ

๓.การจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุ Motion Picture Rating System 04/04/60 ๓.การจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุ Motion Picture Rating System สมาคมภาพยนตร์แห่งสหรัฐฯ MPAA    - G (general audiences) คนทุกเพศทุกวัยดูได้   - PG (parential guidance) พ่อแม่แนะนำให้ลูกดู   - PG 13 (parents strongly cautioned) พ่อแม่จะต้องใช้ดุลพินิจว่าสมควรให้ลูกดูหรือไม่   - R (restricted) เด็กอายุต่ำกว่า 17 ปีเข้าดูตามลำพังไม่ได้ ยกเว้นมีผู้ใหญ่หรือผู้ปกครองไปด้วย  - X or NC-17 (no children under 17) ห้ามเด็กต่ำกว่าอายุ 17 ปีเข้าชม    20

๓.การจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุ 04/04/60 ๓.การจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุ 21

ปัญหาของเรตติ้ง เพื่อส่งเสริม การศึกษาและ การเรียนรู้ ไม่ได้ให้คำตอบ 04/04/60 ปัญหาของเรตติ้ง เพื่อส่งเสริม การศึกษาและ การเรียนรู้ ไม่ได้ให้คำตอบ เกี่ยวกับสื่อ เพื่อสร้างสรรค์ 22

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดระดับความเหมาะสมของสื่อ 04/04/60 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดระดับความเหมาะสมของสื่อ ส่งเสริม คุ้มครอง การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ 23