การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ??? อ.อิทธิพล ปรีติประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ม.มหิดล
ทำไมต้องมีการจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ ??? (๑) ทำไมต้องมีการจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ ???
ทำไมต้องจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ วัยของเด็กกับการรับรู้สื่อ
โอกาสในการเลียนแบบจากสื่อ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการรับรู้สื่อ ของเด็กและเยาวชน (พญ.พรรณพิมล หล่อตระกูล) พฤติกรรมการรับสื่อ พื้นฐานภูมิหลัง ของเด็กแต่ละคน วัย ของเด็ก
กิจกรรมที่เหมาะกับการเรียนรู้ของเด็กคือการใช้ประสาทสัมผัสทุกด้าน ค้นคว้าเรียนรู้สิ่งที่อยู่รอบตัว ด้วยการเคลื่อนไหวร่างกาย สัมผัส จัดการเรียนรู้ผ่านความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดจากผู้เลี้ยงดู และกระทำการเรียนรู้ซ้ำๆจนเกิดการบันทึกจดจำ โทรทัศน์ “ดึง” ให้เด็กจ้องมองที่หน้าจอที่มีแสงสว่าง มีการเคลื่อนไหวภาพที่รวดเร็ว เด็กไม่มีโอกาสเรียนรู้แบบโต้ตอบกับสิ่งที่รับเข้ามา และยังมีความเสี่ยงจากแสงสว่างที่วาบขึ้นมาเป็นระยะ รวมทั้งการไม่ได้เคลื่อนไหว 3 – 5 ปี 6 – 12 ปี 13 – 18 ปี 0 – 3 ปี
เด็กเริ่มพัฒนาการเรียนรู้จากการเล่นแบบสมมุติ ชอบการทดลอง การเลียนแบบ มีพัฒนาการด้านภาษา สามารถรับรู้อารมณ์ได้ ระบบคิดจะยังไม่สามารถแยกระหว่างความจริงกับจินตนาการ การรับรู้ผ่านสื่อจะรับรู้ข้อมูลแบบซึมซับว่าเป็นจริง เลียนแบบพฤติกรรมที่เห็น ไม่สามารถตัดสินใจแยกแยะได้ด้วยตนเองถึงอันตรายที่จะตามมา การรับชมภาพที่น่าหวาดกลัวจะสร้างความตื่นตระหนก และมองว่าสิ่งแวดล้อมภายนอกน่ากลัว นอกจากนี้การรับชมมากเกินไปทำให้รบกวนการพัฒนาด้านสมาธิ 0 – 3 ปี 6 – 12 ปี 13 – 18 ปี 3 – 5 ปี
0 – 3 ปี 3 – 5 ปี 13 – 18 ปี 6 – 12 ปี เด็กจะมีความอยากรู้อยากเห็น มีประสบการณ์ทางสังคมเพิ่มมากขึ้น เป็นวัยที่สร้างการเรียนรู้การมีวินัยและความรับผิดชอบ แยกแยะการใช้เวลาเล่นกับการเรียนรู้ ยังมีลักษณะการเลียนแบบสูง เนื่องจากระบบคิดยังอยู่ในช่วงการพัฒนาความเป็นเหตุเป็นผล การแยกแยะข้อมูลที่ได้รับว่ามีความหมายเช่นไร มีแนวโน้มสูงที่จะทดลองด้วยการเลียนแบบพฤติกรรมโดยไม่เข้าใจความหมายของพฤติกรรมนั้นๆ และยังสร้างค่านิยมต่อพฤติกรรมที่รับรู้ผ่านสื่อว่าเป็นค่านิยมที่ยอมรับทางสังคม 0 – 3 ปี 3 – 5 ปี 13 – 18 ปี 6 – 12 ปี
0 – 3 ปี 3 – 5 ปี 6 – 12 ปี 13 – 18 ปี เป็นวัยที่มีการพัฒนาระบบคิด การรับรู้แยกแยะวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับ มีประสบการณ์ทางสังคมเพิ่มมากขึ้นตามวัย ต้องการการยอมรับและเลือกรับสิ่งที่เป็นตามกระแสหลักได้ง่าย เป็นวัยที่มีการแสวงหาต้นแบบในอุดมคติ นักร้อง นักดนตรี ดารา เป็น Idol ของเด็กวัยรุ่น โดยเฉพาะการนำเสนอที่สร้างภาพลักษณ์ สร้างความรู้สึกร่วม จะมีอิทธิพลมากต่อความคิดและพฤติกรรมของวัยรุ่น นอกจากนี้เด็กจะมีความต้องการเป็นแบบผู้ใหญ่ อยากแสดงพฤติกรรมเลียนแบบผู้ใหญ่เพื่อแสดงว่าตนเองโตแล้ว 0 – 3 ปี 3 – 5 ปี 6 – 12 ปี 13 – 18 ปี
การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์คืออะไร (๒) การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์คืออะไร
เรตติ้ง การกลั่นกรองเนื้อหา Rating ความนิยมเชิงปริมาณ 04/04/60 การจัดระดับความเหมาะสมของสื่อแต่ละประเภท (Rating) นิยามและทางปฏิบัติ เรตติ้ง Rating การกลั่นกรองเนื้อหา ความนิยมเชิงปริมาณ จำแนกเนื้อหารายการ วัดระดับคุณค่าเชิงความรู้ 10
04/04/60 ๑.การกลั่นกรองเนื้อหา 11
04/04/60 ๑.การกลั่นกรองเนื้อหา 12
04/04/60 ๑.การกลั่นกรองเนื้อหา 13
04/04/60 ๑.การกลั่นกรองเนื้อหา 14
04/04/60 ๒.ความนิยมเชิงปริมาณ 15
๓.การจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุ 04/04/60 ๓.การจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุ 16
๓.การจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุ
๓.การจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุ
๓.การจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุ
๓.การจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุ Motion Picture Rating System 04/04/60 ๓.การจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุ Motion Picture Rating System สมาคมภาพยนตร์แห่งสหรัฐฯ MPAA - G (general audiences) คนทุกเพศทุกวัยดูได้ - PG (parential guidance) พ่อแม่แนะนำให้ลูกดู - PG 13 (parents strongly cautioned) พ่อแม่จะต้องใช้ดุลพินิจว่าสมควรให้ลูกดูหรือไม่ - R (restricted) เด็กอายุต่ำกว่า 17 ปีเข้าดูตามลำพังไม่ได้ ยกเว้นมีผู้ใหญ่หรือผู้ปกครองไปด้วย - X or NC-17 (no children under 17) ห้ามเด็กต่ำกว่าอายุ 17 ปีเข้าชม 20
๓.การจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุ 04/04/60 ๓.การจำแนกเนื้อหาตามช่วงอายุ 21
ปัญหาของเรตติ้ง เพื่อส่งเสริม การศึกษาและ การเรียนรู้ ไม่ได้ให้คำตอบ 04/04/60 ปัญหาของเรตติ้ง เพื่อส่งเสริม การศึกษาและ การเรียนรู้ ไม่ได้ให้คำตอบ เกี่ยวกับสื่อ เพื่อสร้างสรรค์ 22
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดระดับความเหมาะสมของสื่อ 04/04/60 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดระดับความเหมาะสมของสื่อ ส่งเสริม คุ้มครอง การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ 23