การพัฒนาระบบส่งต่อ การดูแลสุขภาพเขตเมือง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Medication reconciliation
Advertisements

การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Service Plan สาขา NCD.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ความหมายและกระบวนการ
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
ระบบบริการผู้ป่วยจิตเวชในโรงพยาบาลชุมชน
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
สิ่งที่คาดว่าจะพัฒนาในการจัดคลินิกผู้สูงอายุ
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
การดำเนินการ รพ.สต. เขตตรวจราชการ ที่ 12
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
Waiting time (OPD) ตามมาตรฐานงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI)
ข้อเสนอและทางเลือก คลินิกอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลกมลาไสย (กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา) ความร่วมมือระหว่าง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 05. ข้อมูลบริการผู้ป่วยใน
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิภายใต้บริบทของอำเภอนาด้วง
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
Easy COPD clinic … Easy to Practice and Achieve
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
แนวทางการคัดกรองและส่งต่อ ผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจ โรงพยาบาลศรีสะเกษ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบส่งต่อ การดูแลสุขภาพเขตเมือง กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลยะลา

ข้อมูลทั่วไป รวม 162,697 23 101,722 17 60,975 6 อำเภอ/เทศบาล จำนวนประชากร รพ.สต./ศสม. 101,722 17 เขต อ.เมืองยะลา 60,975 เขตเทศบาลฯ 6 รวม 162,697 23

อัตรากำลังทีมสุขภาพของศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง ศสม. ปชก.รับผิดชอบ พยาบาลวิชาชีพ จพง. ทันตสาธารณสุข รวม อัตรากำลังต่อปชก. บ้านสะเตง 12,369 8 1 10 1:1,236 จารูพัฒนา 13,555 9 2 12 1:1,355 ผังเมือง ๔ 7,635 6 1:954 ธนวิถี 6,492

กลุ่มงานเวชกรรมสังคม อัตรากำลังทีมสุขภาพของศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (ต่อ) ศสม. ปชก.รับผิดชอบ พยาบาลวิชาชีพ จพง. ทันตสาธารณสุข รวม อัตรากำลังต่อปชก. เวชกรรม 1 10,838 7 2 1 10 1:1,083 เทศบาล 10,086 9 - 1:1,008 60,975 47 6 60 1:1,016 กลุ่มงานเวชกรรมสังคม 18 20 65 8 80

แผนผังที่ตั้งศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองทั้ง 6 แห่ง ไปหาดใหญ่ ไปสงขลา ศสม.บ้านสะเตง ศสม. เวชกรรม ถนนเทศบาล1 ถนนสิโรรส N ถนนสุขยางค์ ศสม. เทศบาลฯ ไปปัตตานี หอนาฬิกา ศาลหลักเมือง ศสม.จารูพัฒนา ถนนสุขยางค์ ถนนพิพิธภักดี ถนนสุขยางค์1 ศสม.ผังเมือง4 ศสม.ธนวิถี 5

การพัฒนาระบบบริการตรวจรักษาโรคของศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง ระบบ M-Record ระบบ Fast – Tract มีแพทย์ออกตรวจทุกวัน จ – ศ. เวลา 09.00 - 12.00 น. ศสม.ธนวิถี ศสม.จารูพัฒนา ศสม.เทศบาล

การพัฒนาระบบบริการตรวจรักษาโรค การบันทึกข้อตกลงร่วมกับเทศบาลนครยะลา มีแพทย์ออกตรวจทุกวันจันทร์ – ศุกร์ เวลา 09.00 – 12.00 น. บัตรประจำตัวผู้ป่วยใช้ HN เดียวกับโรงพยาบาลยะลา ระบบยาและเวชภัณฑ์ใช้มาตรฐานเดียวกันกับโรงพยาบาล มีเภสัชกร ควบคุมกำกับดูแลระบบจ่ายยา สิทธิค่ารักษาพยาบาล ใช้สิทธิได้ทุกสิทธิ ข้าราชการต้อง scan นิ้ว ที่โรงพยาบาลยะลาก่อน จัดระบบ Fast Tract กรณีต้องตรวจพิเศษ เช่น x – ray, อัลตร้าซาวน์ มีระบบส่งต่อโดยเข้าช่องทางด่วน,ระบบส่งตรวจจาก ศสม. สามารถ Admit ผู้ป่วยได้จากศสม.

แพทย์ออกตรวจ ณ รพ.สต./ศสม. แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยจาก รพ.สต/ศสม. ที่ใช้โปรแกรม M - Record แพทย์ออกตรวจ ณ รพ.สต./ศสม. ส่งตรวจ ณ รพ.ยะลา ยื่นบัตรช่องส่งต่อ ณ ห้องบัตร -อธิบายผู้ป่วย/ญาติ -ผู้ป่วยถือ OPD Card ประทับตรา รพ.สต./ศสม.และ ขอ Print ใบสั่งยาที่ห้องบัตร -ผลการตรวจตามแพทย์นัด รพ.สต./ศสม.ลงทะเบียนส่งต่อ -ติดตามผลการส่งต่อวางแผนเยี่ยมบ้านภายใน 1 สัปดาห์ -ติดตามรับ OPD Card ที่ห้องบัตร (วันถัดไป)

-ติดตามข้อมูลเยี่ยมบ้าน แนวทางการส่งต่อผู้ป่วย รพ.สต./ศสม.ที่ใช้โปรแกรม JHCIS ประเมินอาการผู้ป่วย แพทย์ประจำแผนก Consult -ทางโทรศัพท์ -Web cam Case ที่ต้องการส่งต่อ -ชี้แจงผู้ป่วยญาติ -เขียน บส.08 -ลงทะเบียนส่งต่อ -พยาบาลเวชปฏิบัติ -พยาบาลกลุ่มงานเวชกรรมแต่ละงาน -บันทึกข้อมูลในโปรแกรม JHCIS/FF -ติดตามข้อมูลเยี่ยมบ้าน

แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเรื้อรังกลับไปรักษาต่อ ศสม./รพ.สต. จำแนกผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ ติด sticker พิจารณาส่งต่อ ส่งพบแพทย์พิจารณาส่งต่อโดยผู้ป่วยสมัครใจ ให้คำแนะนำลงบันทึกข้อมูลในแบบฟอร์ม ติดสติ๊กเกอร์ส่งต่อหน้า OPD card ลงทะเบียนผู้ป่วย

ระบบการส่งต่อผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิต A กลุ่มผู้ป่วยที่คุมน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ดี (ระดับ A) คือ ค่า HbA1c < 7 แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง กลับไปรับการรักษาที่ศสม./รพ.สต.ในเครือข่าย Criteriaในการส่ง 1.ผู้ป่วยสมัครใจไปรับการรักษาที่รพ.สต./ศสม. 2.ผู้ป่วยไม่ใช้อินซูลินในการรักษา 3.ผู้ป่วยไม่ได้ใช้ยาราคาสูง 4.ผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต หัวใจ และหลอดเลือด 5.กรณีผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยมีระดับน้ำตาลสะสม HbA1Cน้อยกว่า 7 กรณีผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ระดับBp<130/80mmHg 6.จนท.ใช้แบบฟอร์มในการส่งต่อ B กลุ่มผู้ป่วยที่คุมน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง (ระดับ B) C กลุ่มผู้ป่วยที่คุมน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ไม่ดี (ระดับ C)

กลุ่มผู้ป่วยที่คุมน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ดี ขั้นตอนที่ ๔ ระบบสารสนเทศทางคลินิก (Clinical information system) A กลุ่มผู้ป่วยที่คุมน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ดี (ระดับ A) คือ ค่า HbA1c < 7 เขตเทศบาล = 847 คน เขต รพ.สต. = 601คน จำนวนที่ส่งกลับไป รพ.สต./ศสม. 339 คน

ขอบคุณค่ะ