และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

สาระสำคัญของการสัมมนา
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
รายละเอียดของการทำ Logbook
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
Graduate School Khon Kaen University
วิธีการจัดแฟ้มมาตรฐาน
รายละเอียดของการทำ Logbook
ตัวบ่งชี้คุณภาพ สำนักงานอธิการบดี
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เพื่อรับการประเมินภายนอก
ถุงเงิน ถุงทอง.
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
การพัฒนาระบบสารสนเทศ และฐานข้อมูลด้านการวิจัย
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
ปฏิทินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยฯ
การประกันคุณภาพการศึกษา (Quality Assurance, QA)
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้น พื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
คู่มือการใช้งานระบบ ทำการตรวจสอบระบบของเจ้าหน้าที่แต่ละคนที่รับผิดชอบ
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
กลุ่มที่ ๒ โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
EdPEx Kick off.
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
มาตรฐานการบริหารและการจัดการศึกษา
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
งานกิจการนิสิต
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก)
กลุ่มวิจัยและพัฒนาสหกรณ์
เวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
ทางการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
แสดงเพียง บางส่วน แจ้งให้ ภาควิชา / หน่วยงาน ส่งวันที่ พร้อม ให้คณะเข้า ตรวจประเมินฯ แจ้งกรรมการตรวจ ประเมินฯ ของคณะ ส่งวันที่ และรายชื่อ หน่วยงานที่พร้อมฯ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II) แนวทางการปฏิบัติที่ดี (Good Practice) การประกันคุณภาพการศึกษา คณะทันตแพทยศาสตร์ เรื่อง การบริหารจัดการข้อมูล การรวบรวมข้อมูลรายบุคคลของอาจารย์ (SAR – I) และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II) โดย นางยุวดี อุปนันท์ หัวหน้างานนโยบายและแผน

แนวทางการปฏิบัติที่ดี (Good Practice) คณะทันตแพทยศาสตร์ มีระบบการรายงานข้อมูล ของอาจารย์ แต่ละท่าน(SAR – I) และรายงานการประเมินตนเองระดับภาควิชา (SAR – II) มีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้ 1. ขั้นตอน การสร้างความเข้าใจและการยอมรับของบุคลากรในคณะฯ 1.1 ผู้บริหารได้กำหนดนโยบายและชี้แจง และสร้างความเข้าใจ ถึงความสำคัญของระบบการรายงานข้อมูลของอาจารย์ และภาควิชาใน รูปแบบของการจัดประชุมคณะกรรมการประจำคณะฯ 1.2 ฝ่ายวางแผนและพัฒนา จัดทำ (ร่าง) แบบฟอร์มการรายงาน ข้อมูล (SAR – I) และ (SAR – II) ต่อคณะกรรมการประจำคณะฯ เพื่อ พิจารณาแก้ไข / เพิ่มเติม

แนวทางการปฏิบัติที่ดี (Good Practice) 2. ขั้นตอนการกำหนดวิธีการและเก็บข้อมูล 2.1 คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ได้ร่วมประชุมและ กำหนดวิธีการและระยะเวลาในการรายงานข้อมูล 2.2 อาจารย์รายงานผลการดำเนินงานตามภารกิจ 4 – 5 ด้าน เทอมละ 1 ครั้ง ส่งรองคณบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา ครั้งที่ 1 ( มิถุนายน - พฤศจิกายน ) ครั้งที่ 2 (ธันวาคม - พฤษภาคม ) 2.3 ระดับภาควิชาเก็บรวบรวมข้อมูลจากอาจารย์แต่ละท่าน เพื่อเตรียมรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานประจำปีระดับภาควิชา 2.4 หน่วยประกันคุณภาพการศึกษา นำแบบฟอร์มไว้ใน Web.Site การประกันคุณภาพการศึกษาคณะทันตแพทยศาสตร์ เพื่อความสะดวกในการ นำมาใช้งาน

แนวทางการปฏิบัติที่ดี (Good Practice) 2.5 พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลโดยการพัฒนาระบบโปรแกรมขึ้นมา ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลโดยให้อาจารย์และภาควิชาสามารถ Input ข้อมูลผ่านระบบ Intranet 3. ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล 3.1 หลังจากหน่วยประกันคุณภาพการศึกษา ได้ข้อมูลรายบุคคลจาก อาจารย์ นำมาบันทึกข้อมูลแยกเป็นหมวดหมู่ตามตัวชี้วัด และวิเคราะห์ข้อมูล นำผลใช้ประกอบการจัดทำรายงานการประเมินตนเองระดับคณะฯ ตามลำดับ 3.2 หลังจากได้ข้อมูลที่จัดทำเป็นหมวดหมู่แล้ว มีระบบการตรวจสอบ ความถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมูล โดยวิธีการส่งข้อมูลถึงภาควิชา และรอง คณบดีและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อตรวจสอบ/ เพิ่มเติมแก้ไขให้ความถูกต้องยิ่งขึ้น

แนวทางการปฏิบัติที่ดี (Good Practice) 4. การกำกับ/ติดตาม การรายงานข้อมูล 4.1 งานนโยบายและแผนดำเนินการตรวจสอบข้อมูลรายภาควิชาและข้อมูล รายบุคคล จัดทำหนังสือถึงภาควิชาให้ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลและขอความ ร่วมมือในการแก้ไขและเพิ่มเติมข้อมูลตามกำหนดเวลา 4.2 การประสานงานภายในองค์กร ในการติดตาม/ทวงถาม 4.3 การติดตามโดยคณบดี ในรูปแบบการประชุมคณะกรรมการประจำ คณะฯ 5. ขั้นตอนการแบ่งบันข้อมูลและการใช้ข้อมูลร่วมกันระหว่างหน่วยงาน 5.1 มีการใช้ข้อมูลร่วมกัน เช่น การจัดทำรายงานประจำปี การรายงาน ข้อมูลตาม กพร. และ สมศ. 5.2 ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของอาจารย์จะใช้เป็น ข้อมูลประกอบในการประเมิน เป็นต้น