วิชาชีพสาธารณสุขของท้องถิ่นก้าวหน้า หรือล้าหลัง
กฎหมายที่เกี่ยวกับงานสาธารณสุขของ อปท. รัฐธรรมนูญ มาตรา 51 บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการทางสาธารณสุข ที่เหมาะสมและได้มาตรฐาน .............. บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับการบริการสาธารณสุขจากรัฐซึ่งต้อง เป็นไปอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับการป้องกันและขจัดโรคติดต่ออันตราย จากรัฐอย่างเหมาะสม โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและทันต่อเหตุการณ์
รัฐธรรมนูญ (ต่อ) มาตรา 80 (2) ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบสุขภาพที่ เน้นการสร้างเสริมสุขภาพ อันนำไปสู่สุขภาวะที่ยั่งยืนของประชาชนรวมทั้งจัดและส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ ......โดยผู้มีหน้าที่ให้ บริการดังกล่าวซึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐานและจริยธรรม ย่อมได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย มาตรา 283 อปท. ย่อมมีอำนาจหน้าที่โดยทั่วไปในการดูแลและจัดทำบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นและย่อมมีความเป็นอิสระในการกำหนดนโยบายการบริหารการจัดบริการสาธารณะ ....... โดยต้องคำนึงถึงความสอดคล้องกับการพัฒนาของจังหวัด และประเทศเป็นส่วนรวมด้วย
พ.ร.บ. อบต. พ.ร.บ. เทศบาล มาตรฐาน /หลักเกณฑ์ การบริหารงานบุคคล มาตรา 67 ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ พ.ร.บ. เทศบาล มาตรา 50 , 53 , 56 ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ มาตรฐาน /หลักเกณฑ์ การบริหารงานบุคคล ให้ อปท. มี สำนัก/กอง/ส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนัก/กองการแพทย์ มีหน้าที่เกี่ยวกับ - งานสาธารณสุขชุมชน - ส่งเสริมสุขภาพอนามัย - การป้องกันโรคติดต่อ - งานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม - งานสัตวแพทย์ - งานอื่นๆ ด้านสาธารณสุข
ตำแหน่งบุคลากร อปท. กลุ่มแพทย์ พยาบาล สาธารณสุข สวัสดิการ ตำแหน่งบุคลากร อปท. กลุ่มแพทย์ พยาบาล สาธารณสุข สวัสดิการ - นักบริหารงานสาธารณสุข - แพทย์ - ทันตแพทย์ - ทันตสาธารณสุข - พยาบาลวิชาชีพ - พยาบาลเทคนิค - นักวิชาการสุขาภิบาล - เจ้าพนักงานสุขาภิบาล - เจ้าหน้าที่สุขาภิบาล - นักวิชาการส่งเสริมสุขภาพ - เจ้าพนักงานส่งเสริมสุขภาพ - เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสุขภาพ - ผดุงครรภ์สาธารณสุข - เจ้าหน้าที่พยาบาล - เภสัชกร - ผู้ช่วยเภสัชกร - วิชาการสัตวแพทย์ - สัตวแพทย์ - เจ้าหน้าที่รังสีการแพทย์ - นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ - เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ - เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์การแพทย์ - เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน - ทันตานามัย - เจ้าหน้าทีเอ็กซเรย์ - เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์ - เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ - นักวิทยาศาสตร์ - โภชนาการ - เจ้าพนักงานโภชนาการ - นักวิชาการสาธารณสุข - ตำแหน่งอื่นๆ (ก.พ.)
ความก้าวหน้า สิทธิประโยชน์ บุคลากร อปท. ข้าราชการพลเรือน สิทธิประโยชน์ บุคลากร อปท. ข้าราชการพลเรือน
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ระบบการสาธารณสุขของ “ประเทศ” เน้นการตรวจรักษา มากกว่า การส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค ระบบการสาธารณสุขของ “อปท.” เน้นการส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค มากกว่า การรักษา
ปัจจุบันระบบสาธารณสุข ควรจะเน้นอะไร ปัจจุบันระบบสาธารณสุข ควรจะเน้นอะไร
ระบบการสาธารณสุขของ “ประเทศ” “ ถึงเวลาแล้วหรือยังที่จะต้องมีการเปลี่ยนแปลง จากการตรวจรักษาโรคเป็นหลักให้กลายเป็นการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนเป็นหัวใจสำคัญ ” ร่าง พ.ร.บ.วิชาชีพการสาธารณสุข ร่าง พ.ร.บ.การส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรคแห่งชาติ
ร่าง พ.ร.บ.วิชาชีพการสาธารณสุข หลักการ จัดตั้งสภาวิชาชีพสาธารณสุข กำหนดมาตรฐานและจริยธรรมผู้ประกอบวิชาชีพสาธารณสุข ออก/ถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสาธารณสุข ประโยชน์ที่จะได้รับ ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐาน เจ้าหน้าที่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย
ร่าง พ.ร.บ.การส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรคแห่งชาติ หลักการ สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ มาตรา 80 (2) จัดตั้งกองทุนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแห่งชาติ ประโยชน์ที่จะได้รับ ประชาชนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง รู้จักการป้องกันตนเอง ราชการลดภาระค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาล
คำถาม...........ที่ต้องตอบให้ได้ บุคลากรด้านสาธารณสุข มีความสนใจวิชาการสาธารณสุขแค่ไหน....... เมื่อเปรียบเทียบกับแพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์
พ.จ.อ.ชนินทร์ ราชมณี 02-2415637 02-241-9000 ต่อ 3331 08-1174-3785 พ.จ.อ.ชนินทร์ ราชมณี ผู้อำนวยการส่วนประสานการถ่ายโอนบุคลากร และมาตรฐานตำแหน่ง สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 02-2415637 02-241-9000 ต่อ 3331 08-1174-3785 Chanin@thailocaladmin.go.th