ภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
Advertisements

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
ภารกิจกำกับดูแลและตรวจสอบภาษี
การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
การคลังและนโยบาย การคลัง
การใช้ E (Electronic) ในภาครัฐ
“e-Revenue” “ภาษี”เรื่องง่าย ๆ.
โครงสร้างภาษีประเทศไทย
Gems and Jewelry Electronic Commerce
การเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี ( ตาม มาตรา 56 ทวิ)
ภาษีธุรกิจเฉพาะ.
การค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์ สภาพปัญหา ผลกระทบ แนวทางการแก้ไขปัญหา.
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
Logistics Logistics เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร การเคลื่อนย้ายและการเก็บวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต และสินค้าสำเร็จรูป รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากจุดกำเนิด.
Chapter4 Logistic & Supply chain Management
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
Free Trade Area Bilateral Agreement
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
บทที่ 8 นโยบายการคลัง(Fiscal Policy)
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
ตลาดและการแข่งขัน.
กฎหมายภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรในส่วนที่เกี่ยวกับ “สหกรณ์”
วงจรรายจ่าย วงจรที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่อไปนี้
รายรับและรายจ่ายของรัฐ
เงินรายได้แผ่นดิน.
คอมพิวเตอร์เน็ตเวริ์คเบื้องต้น การจัดการระบบสารสนเทศ
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
การจัดเก็บภาษีรถจักรยานยนต์
ความรู้เบื้องต้นเรื่องภาษี ( TAX)
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
Primary Information Approach
BUSINESS TAXATION ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
แยกตามลักษณะผู้ใช้บริการ
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
ภาค5.
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
แนวทางการวางแผนภาษีธุรกิจเฉพาะ Specific Business Tax Planning
การบริการการจัดเก็บภาษีสรรพากร
ผู้อำนวยการสำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน นายสงวนศักดิ์ เกยุราพันธุ์
1 วิจารณ์ผลการศึกษา โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปิดเสรีทางการค้า เพื่อเสนอแนะมาตรการ ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบ รศ. ดร. ชยันต์ ตันติวัสดาการ คณะเศรษฐศาสตร์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
จิตรา ณีศะนันท์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี
ลักษณะสำคัญของการซื้อขายล่วงหน้า
โครงการ การพัฒนาศักยภาพ บุคลากรด้านการปราบปราม
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
องค์ประกอบผลประโยชน์ของรัฐ ตามระบบสัมปทานไทย(Thailand III)
ระบบการเรียกเก็บหนี้
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
ผู้จัดทำ 1.นางสาวสุพรรษา ภูพวก เลขที่19 ม.4/4
แนวทางการวิเคราะห์สำหรับภาษีอากร
Chapter 1 แนะนำการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การคำนวณภาษีสรรพสามิต
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ ( ฉบับที่ 211) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเงินได้
บทที่ 7 อากรแสตมป์.
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
การปลด cap วงเงิน.
Creative Accounting
บทที่ 1 หลักการและโครงสร้างของภาษีอากร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Apirada Thadadech Ecommerce_tax.ppt

Contents ผลกระทบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ต่อระบบภาษี เกณฑ์ปฏิบัติสากล เกณฑ์ปฏิบัติของไทย แนวทางการปรับระบบภาษี

ผลกระทบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ต่อระบบภาษี พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ผ่านสื่ออินเทอร์เน็ตทำให้เกิดผลกระทบที่สำคัญต่อระบบภาษี จากคุณลักษณะของการค้ารูปแบบใหม่ 3 ประการคือ ประการที่ 1 การค้าขายข้ามประเทศ ประการที่ 2 มูลค่าเพิ่มที่สร้างขึ้นจาการค้า ประการที่ 3 การระบุผู้ซื้อขายในธุรกรรมยากขึ้น ผลกระทบที่เกิดขึ้น รัฐบาลได้เสนอหลักการและเกณฑ์ปฎิบัติในการชำระภาษี

เกณฑ์ปฏิบัติสากล แนวทางระบบภาษี หลักการ 5 ข้อ คือ หลักการข้อที่ 1 – ความเป็นกลางทางภาษี (Neutrality) หลักการข้อที่ 2 – ประสิทธิภาพของการจัดเก็บ (Efficiency) หลักการข้อที่ 3 – ความแน่นอน (Certainty and Simplicity) หลักการข้อที่ 4 – ความยุติธรรม (Effectiveness and Fairness) หลักการข้อที่ 5 – ความยืดหยุ่น (Flexibility)

เกณฑ์ปฏิบัติสากล ภาษีทางตรง กลุ่มประเทศ OECD ได้วางแนวทางจัดเก็บภาษี (Model Tax Convention) ไว้โดยมีหลักการสำคัญให้พิจารณาแหล่งเงินได้เพื่อจัดเก็บภาษีทางตรงจากสถานประกอบการถาวร (Permanent Establishment) ซึ่งหากแปลเป็นไทยอาจได้ความหมายที่ไม่ตรงนัก เพราะความหมายของ Permanent Establishment มิได้รวมถึงสถานประกอบการที่สร้างด้วยอิฐเท่านั้น

ภาษีทางอ้อม เกณฑ์ปฏิบัติสากล คล้ายกับภาษีมูลค่าเพิ่มของไทยในแง่ที่ว่าผู้ซื้อสินค้าหรือบริการเป็นผู้จ่ายภาษี แต่ความแตกต่างที่สำคัญคือไม่มีการขอคืนภาษีระหว่างทาง และผู้จัดเก็บภาษีการขายนี้คือรัฐบาลท้องถิ่น ทำให้ภาษีการขายในแต่ละรัฐนั้นมีอัตราไม่เท่ากัน

เกณฑ์ปฏิบัติของไทย หัวใจสำคัญในการพิจารณาเรื่องภาษีคือการพิจารณาว่าสินค้าที่เกี่ยวข้องนั้น เป็นสินค้า หรือ บริการ เพราะกรมสรรพกรไทยมีระบบจัดเก็บภาษีแตกต่างกันตามคุณลักษณะนี้ สินค้าที่จัดว่าเป็นสินค้านั้นก็ได้แก่สิ่งของที่จับต้องได้ตามปกติ การค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของสินค้าประเภทนี้จัดเป็นพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ทางอ้อม

เกณฑ์ปฏิบัติของไทย ภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม การเสียภาษีเงินได้ของบุคคลธรรมดาที่เป็นคนไทยและนิติบุคคลที่จดทะเบียนในประเทศไทยนั้น การค้าทางอินเทอร์เน็ตมิได้มีการให้สิทธิ์พิเศษประการใด จึงยังคงต้องเสียภาษีตามปกติ โดยยื่นแบบแสดงรายได้ ภงด. 90 และ ภงด. 50 ตามลำดับ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ในการขายสินค้าผ่านทางอินเทอร์เน็ตนั้น หากเป็นการขายให้แก่ผู้ซื้อที่อยู่ในประเทศ ผู้ขายสินค้าในระบบภาษีมูลค่าเพิ่มจะต้องเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ตามปกติ แต่หากเป็นการส่งออกกรมสรรพกรสนับสนุนพ่อค้าไทยโดยให้เก็บภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราศูนย์ เพื่อให้สินค้าไทยสามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้

เกณฑ์ปฏิบัติของไทย ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ภาษีศุลกากร การซื้อสินค้าดิจิตัลผ่านเวบไซต์และผู้ซื้อดาวน์โหลดสินค้าเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเองนั้น เนื่องจากกรมสรรพากรไทยตีความให้สินค้าดิจิตอลเป็นบริการ ผู้ซื้อสินค้าในไทยจึงมีหน้าที่ในการหักภาษี ณ ที่จ่ายจากการซื้อสินค้าเหล่านี้ด้วยตามตามมาตรา 70 ทวิ ภาษีศุลกากร ประเทศไทยสนับสนุนการส่งออก ดังนั้นไม่มีการเรียกเก็บภาษีศุลการกรขาออก ยกเว้นหนังดิบ แต่เมื่อสินค้าเข้าสู่ประเทศลูกค้าแล้ว ลูกค้าต่างประเทศจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบภาษีศุลกากรขาเข้าซึ่งแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ

แนวทางการปรับระบบภาษี แนวทางการปรับระบบภาษีของไทยให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่เกิดขึ้น เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บภาษีต้องใช้เทคโนโลยีในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษี ตลอดจนการบริการผู้เสียภาษี ระบบจัดเก็บภาษีควรสามารถใช้เทคโนโลยี เพื่อตรวจสอบและติดตามธุรกรรมที่เกิดขึ้นได้ ต้องมีการประสานความร่วมมือในการจัดเก็บภาษีกับหน่วยงานต่างประเทศ ไทยยังควรยึดหลักการเก็บภาษีจากจุดบริโภค