ผงชูรสแท้หรือปลอม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูวันเพ็ญ กริ่งกาญจนา เรียบเรียงโดย นิพนธ์ วีระธรรมานนท์
Advertisements

ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
ขนมอบ จัดทำโดย เสนอ อ. มานะ ผิวผ่อง
ตัวอย่างกิจกรรมการทดลอง โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
Formulation of herbicides Surfactants
การถนอมอาหาร.
ชื่อโครงงานการทำขนมไหว้พระจันทร์
~ ชาเขียว ~.
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
อาหารไทย 4 ภาค.
蛋糕 ขนมเค้กในเทศกาลตรุษจีน
โครงงานอาหารจีนหรรษา
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
เรื่องคลอรีนในน้ำบรรจุขวด
ที่คุณใช้อยู่มี "โซดาไฟ" อยู่มากไหม?
สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
โครงงานสุขภาพ วิชาสุขศึกษา เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
หลักปฏิบัติ ๔ ประการ ในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
สีผสมอาหาร Group’s Emblem.
โดย: ด.ช.นพวิทย์ วงษ์เจริญ ด.ญ.ลักษิกา บูรณศักดิ์ศรี
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
ขนมไทย จัดทำโดย ด. ช. กลวํชร เชื้อเกตุ ด. ช. ณัฐชนน กำจาย เสนอ อ
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
สารเมลามีน.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
การแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
( Stanum ใช้สัญลักษณ์ Sn )
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
ข้าวกล้องงอก ข้าวกล้องหอมมะลิงอก ข้าวกล้องข้าวเหนียวดำ
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
สารปรุงแต่งอาหาร.
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
หลักการเลือกซื้ออาหาร
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
1. นาย สุทธิเกียรติ์ เดชแฟง ม.5/3 เลขที่ 4
อาหารไทย.
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับประทาน ประเทศที่นิยมรับประทาน
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด.ช. อเนชา จันทคง เลขที่ 20 ชั้น 2/6.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผงชูรสแท้หรือปลอม

ผงชูรส เป็นชื่อกลางที่ใช้เรียก โมโนโซเดียมกลูตาเมต (Monosodium Glutamate) วัตถุเจือปนอาหารประเภท วัตถุปรุงแต่งรสอาหารที่มีการใช้ในอาหารกันอย่างแพร่หลายทั่วโลก ผงชูรสมีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาวไม่มีกลิ่น มีประโยชน์ในการเป็นสารเพิ่มรสชาติอาหาร (Flavor Enhancer) ทำให้อาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น

ผงชูรส มีการขายในเชิงพานิชย์ครั้งแรกในปี ค. ศ. 1909 (พ. ศ ผงชูรส มีการขายในเชิงพานิชย์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1909 (พ.ศ. 2452) ภายใต้ชื่อการค้าเป็นภาษาญี่ปุ่นว่า อายิโนะโมะโต๊ะ (Ajinomoto หมายถึง แก่นแท้ของรสชาติ)

ผงชูรสแท้ ผงชูรสแท้ผลิตจากแป้งมันสำปะหลัง หรือจากกากน้ำตาล ลักษณะของผงชูรสจะเป็นเกล็ดหรือผลึกสีขาวขุ่นรูปร่างเหมือนกระดูกไม่มีความวาวแบบสะท้อนแสง มีรสชาติคล้ายเนื้อต้ม

ผงชูรสปลอม ส่วนผงชูรสที่ใช้วัตถุอื่นปลอมปนนั้น วัตถุบางชนิดไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภคเช่น ใช้เกลือ น้ำตาล แป้ง ชึ่งมีลักษณะเป็นเกล็ดเล็กเป็นเม็ด หรือเป็นผงปลอมปนเข้าไป แต่วัตถุบางชนิดก็เป็นอันตรายต่อผู้บริโภคได้ เช่น ใช้บอแรกซ์ หรือที่เรียกว่า น้ำประสานทอง โดยปรกติแล้วสารตัวนี้ใช้ในการเชื่อมทอง มีลักษณะเป็นผลึก เม็ดกลมเล็ก ๆ สีขาว ทึบแสง ลักษณะใกล้เคียงกับผงชูรส จึงมักนิยมนำมาปลอมปน

บอแรกช์เป็นสารห้ามใช้ในอาหารหากร่างกายได้รับในปริมาณสูงอาจทำให้เสียชีวิตได้ ได้รับในปริมาณน้อยแต่บ่อยครั้ง จนเกิดการสะสมในร่างกายจะเกิดอาการเป็นพิษแบบเรื้อรังทำให้เบื่ออาหาร อ่อนแอ สับสน ระบบย่อยอาหารถูกรบกวน ผิวหนังอักเสบ

วัตถุอีกชนิดหนึ่งที่นิยมปลอมปนในผงชูรส คือ โซเดียมเมตาฟอสเฟต สารตัวนี้มีลักษณะเป็นผลึกขาวใส วาววับหัวท้ายมน ปกติใช้เป็นน้ำยาล้างหม้อน้ำรถยนต์ เมื่อรับประทานเข้าไปจะออกฤทธิ์เป็นยาถ่ายอย่างแรง ชึ่งอันตรายมาก

วิธีการตรวจสอบว่ามีวัตถุอื่นปลอมปนหรือไม่ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ดังนี้ นำผงชูรสประมาณเท่าเม็ดถั่วเขียว ละลายน้ำสะอาด ๑ ช้อนชา จนหมด นำกระดาษขมิ้นจุ่มลงไป ถ้ากระดาษขมิ้นเปลี่ยนจากสีเหลืองเป็นสีแดงหรือสีแดงเข้ม แสดงว่ามีน้ำประสานทองปนอยู่ ๒. ใส่ผงชูรส ๑ ช้อนชา ในช้อนโลหะเผาจนใหม้ถ้าเป็นผงชูรสแท้จะไหม้ไฟเป็นถ่านสีดำที่ช้อน แต่ถ้ามีสารอื่นปลอมปน สารที่ปนอยู่นั้นจะหลอมตัวเป็นสารสีขาว

การสังเกตผงชูรสด้วยตาเปล่า มีหลักสังเกตดังนี้ ภาชนะที่บรรจุต้องอยู่ในสภาพเรียบร้อย ไม่ฉีกขาด ไม่เลอะเลือน ฉลากชัดเจน โดยที่ฉลากจะต้องมีข้อความระบุดังนี้ - ชื่ออาหารแสดงคำว่า “ผงชูรส” - เลขทะเบียนตำรับอาหาร - ชื่อที่ตั้งของผู้ผลิตอย่างชัดเจน - เดือน ปี ที่ผลิต

http://www.mindcyber.com/content/data/5/0054-1.html