การเขียนโครงการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประภัสสร คำยวง นักวิชาการสาธารณสุข
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
หลักการบันทึกข้อความ
การเขียนผลงานวิชาการ
สื่อการสอนโครงงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จัดทำโดย ม
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
Thesis รุ่น 1.
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
บทที่ 2 โครงการอบรม/สัมมนา.
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
เครื่องมือคุณภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา 1.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
การกำหนดปัญหาการวิจัย (Determining of Research Problem)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
คำแนะนำการจัดทำข้อเสนอโครงการ
การเตรียมข้อเสนอโครงการ
ขั้นตอนที่ 1 ระบุปัญหาของนโยบายสาธารณะในชุมชนของท่าน
การนำเสนอแฟ้มผลงานรับฟังความคิดเห็น (ประชาพิจารณ์)
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
ตัวอย่างการเขียน บทที่ 1 บทนำ.
1 การเสนอโครงการภายใต้ กรอบความร่วมมือเอเปค สำนักความร่วมมือการลงทุน ต่างประเทศ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน.
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
การเขียนข้อเสนอโครงการ
โครงงานฝึกปฏิบัติงาน “ ”
 โครงการเป็นเครื่องมือในการบริหารงานและ พัฒนาองค์กร และเป็นการแปลงแผนแม่บทไปสู่ การปฏิบัติ
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการคิดวิเคราะห์.
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
การประชุมซักซ้อมความเข้าใจ
หลักการเขียนโครงการ.
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนโครงการ.
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ความหมายของโครงการ โครงการ (PROJECT) โครงการ (PROJECT) กระบวนการ ทำงานที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรม ซึ่งมีการทำโครงการเป็นไปตามลำดับ โดยการ ทำงานจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนโครงการ

ความหมายของโครงการ โครงการ (PROJECT) กระบวนการทำงานที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรม ซึ่งมีการทำโครงการเป็นไปตามลำดับ โดยการทำงานจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ตอบคำถามเกี่ยวกับการวางแผนโครงการ (6 W 2 H) ก. ทำทำไม (WHY) ข. ทำอะไร (WHAT) ค. ทำที่ไหน (WHERE) ง. ทำเมื่อไร (WHEN) จ. ทำโดยใคร (WHO) ฉ. ทำเพื่อใคร (WHOM) ช. ทำอย่างไร (HOW) ซ. จ่ายเท่าไร (HOW MUCH)

ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการกำหนดวิธีการ 18 ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการกำหนดวิธีการ ทำทำไม (Why): หมายถึง หลักการและเหตุผลที่จะต้องดำเนินการเรื่องนั้น ทำอะไร (What): หมายถึงการคิดกิจกรรมที่จะต้องปฏิบัติ ทำที่ไหน (Where): หมายถึง การกำหนดสถานที่ในการดำเนินงานที่เหมาะสม

ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการกำหนดวิธีการ ทำเมื่อไร (When): หมายถึง การกำหนดเวลาที่ใช้ในการดำเนินงานหรือกิจกรรมต่างๆ ทำโดยใคร (Who): หมายถึง การกำหนดผู้รับผิดชอบ ทำเพื่อใคร (Whom): หมายถึง กลุ่มคนหรือพื้นที่เป้าหมายที่ต้องการให้ได้รับประโยชน์

ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการกำหนดวิธีการ ทำอย่างไร (How): หมายถึง รูปแบบ กฎเกณฑ์และกรรมวิธี ในการดำเนินกิจกรรม ใช้จ่ายเท่าไร (How much): หมายถึง การคิดคำนวณค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการดำเนินกิจกรรม

หัวข้อโครงการขอรับการสนับสนุนจากกองทุน 1. ชื่อโครงการ - ชื่อโครงการที่เสนอขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุน 2. เจ้าของโครงการ - หน่วยงานของรัฐ - ภาคเอกชน , สถาบัน - หน่วยงานสนับสนุน

หัวข้อโครงการขอรับการสนับสนุนจากกองทุน 3. หลักการและเหตุผล ความจำเป็นที่ต้องทำโครงการเพราะผลกระทบเสรีทางการค้า (FTA AFTA WTO ฯลฯ) ผลจาก FTA ทำให้สินค้านำเข้ามากน้อยเพียงไร หากไม่ดำเนินการจะกระทบอย่างไร 4. วัตถุประสงค์ ทำเพื่ออะไร แก้ปัญหาอะไร

หลักการเขียนวัตถุประสงค์ที่ดี SMART 1. Sensible and Specific คือ ต้องมีความเป็นไปได้และมีความเฉพาะเจาะจงในการดำเนินการโครงการ 2. Measurable คือ ต้องสามารถวัดและประเมินผลระดับของความสำเร็จได้ 3. Attainable คือ ต้องระบุถึงการกระทำที่สามรถปฏิบัติได้ มิใช่สิ่งเพ้อฝัน 4. Reasonable and Realistic คือ ต้องระบุให้มีความเป็นเหตุเป็นผล และสอดคล้องกับความเป็นจริง 5. Time ต้องมีการกำหนดขอบเขตของเวลาที่จะกระทำให้สำเร็จได้อย่างชัดเจน

หัวข้อโครงการขอรับการสนับสนุนจากกองทุน 5. วิธีดำเนินการ รายละเอียดขั้นตอนดำเนินงาน แยกกิจกรรมเป็นรายปี นิยมใช้แผนภูมิ 6. เป้าหมาย/ขอบเขตการดำเนินการ - จำนวน/ ปริมาณ/ กลุ่ม/ พื้นที่ ดำเนินการ 7. ระยะเวลาโครงการ - ระยะเวลาที่กองทุนสนับสนุน

หัวข้อโครงการขอรับการสนับสนุนจากกองทุน 8. ระยะการดำเนินการ - ระยะเวลาดำเนินการตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุด (คืนเงิน) 9. งบประมาณ แสดงรายละเอียดแต่ละหมวด/กิจกรรม แจกแจงงบประมาณเงินจ่ายขาด/เงินยืม เงื่อนไขและแผนการคืนเงิน

หัวข้อโครงการขอรับการสนับสนุนจากกองทุน 10.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ผลของการดำเนินงานลดผลกระทบอย่างไร ใครเป็นผู้ได้รับประโยชน์ ควรแสดงเป็นตัวเลขเชิงปริมาณ

โครงการที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร สามารถแก้ไขปัญหาขององค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน สามารถดำเนินงานได้ รายละเอียดโครงการต้องสอดคล้องสัมพันธ์กันมี รายละเอียดของโครงการสามารถเข้าใจได้ง่าย สามารถนำไปปฏิบัติได้ มีวิธีการประเมินผลที่ชัดเจน

ปัญหาเกี่ยวกับการเขียนโครงการ 1. ไม่แสดงถึงปัญหาที่ต้องการจะแก้ไขอย่างชัดเจน 2. หลักการ + เหตุผล ไม่หนักแน่น 3. ขาดข้อมูลสนับสนุนอ้างอิง 4. ไม่ทันกาล ไม่ทันสมัย 5. วัตถุประสงค์ไม่ชัดเจน คลุมเครือ 6. วิธีการเป็นไปได้ยาก ทำตามไม่ได้ 7. ไม่เห็นประโยชน์ที่ชัดเจน 8. แผน งบ เวลา ไม่สัมพันธ์กัน ไม่สมเหตุสมผล 9. การนำเสนอ/การเขียน     - ไม่ต่อเนื่อง     - ไม่เรียงลำดับ     - ไม่กระชับ     - ใช้ภาษาพูด เช่น คณะผู้จัดทำโครงการได้ปลุกปล้ำโครงการนี้

การเขียนโครงการ ข้อมูล การเขียนโครงการจะต้องครอบคลุมส่วนประกอบสำคัญ และจะต้องมีรายละเอียดที่จำเป็นสำหรับการดำเนินงานโครงการ เพื่อใช้เป็นแผนปฏิบัติงานที่สามารถนำไปใช้ปฏิบัติได้อย่างชัดเจน การเขียนโครงการ

www2.oae.go.th Email : fta@oae.go.th