แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
หลักการวางแผนประชาสัมพันธ์
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
ถุงเงิน ถุงทอง.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
เลื่อนขั้นค่าตอบแทน และค่าตอบแทนพิเศษ พนักงานราชการ.
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การทำงานเชิงรุก การทำงานเชิงรุก
และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II)
การสรรหาและเลือกสรรบุคคลเข้ารับราชการ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
การประเมินผลการปฏิบัติงาน ( Performance Appraisal )
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
“สมุดบันทึกผลงานและ คุณงามความดีของข้าราชการ”
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ระบบติดตามผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
หลักการเขียนโครงการ.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย

รวมคะแนนด้านคุณลักษณะการปฏิบัติงาน ตัวอย่างแบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย (แบบเก่า) รายการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 2. 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 คุณลักษณะการปฏิบัติงาน การวางแผนและการจัดระบบงาน (ความมีวิสัยทัศน์ความสามารถในการคาดการณ์กำหนดเป้าหมาย และวิธีปฏิบัติงานให้เหมาะสม) คุณภาพของผลงาน (พิจารณาจากความถูกต้อง ความครบถ้วน ความสมบูรณ์ และความประณีต หรือคุณภาพอื่นๆ) ความทันเวลา (พิจารณาจากเวลาที่ใช้ปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับเวลาที่กำหนดไว้สำหรับการปฏิบัติงานหรือภารกิจนั้น) การประหยัดหรือความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากร (พิจารณาจากความฟุ่มเฟือยในการใช้ ทรัพยากรหรือความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากรที่ใช้กับผลผลิตของงานหรือโครงการ) ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ปฏิบัติได้ (พิจารณาจากผลผลิตหรือผลลัพธ์ของผลงานเปรียบเทียบกับเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของงาน) องค์ประกอบอื่นๆ (เพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสมในแต่ละหน่วยงานที่จะกำหนดผลงานร่วมกัน) รวมคะแนนด้านคุณลักษณะการปฏิบัติงาน 60 คะแนนรวม 1 + 2 200 การกำหนดคะแนน เพื่อให้ระดับผลงานไม่มีเกณฑ์ความหมายที่แน่ชัด จึงอาจทำให้ผู้บังคับบัญชาใช้ดุลยพินิจ โดยขาดมาตรฐาน

ครั้งที่ 1 ( 1 ต.ค. - 31 มี.ค. ของปีถัดไป ) ตัวอย่างแบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย (แบบเก่า) 1.2 สรุปผลการประเมิน คะแนน ผลการประเมินดีเด่น ผลการประเมินเป็นที่ยอมรับได้ ผลการประเมินต้องปรับปรุง ( 90 – 100%) ( 60 – 89%) ( ต่ำกว่า 60 %) ครั้งที่ 1 ................. ( ) ( ) ( ) ครั้งที่ 2 ................. ( ) ( ) ( ) ตอนที่ 2 ความเห็นของผู้ประเมินชั้นต้นเกี่ยวกับการพัฒนา การเลื่อนขั้นเงินเดือน และอื่นๆ 2.1 ความเห็นเกี่ยวกับการพัฒนา ฝึกอบรมและการแก้ไขการปฏิบัติงาน (ระบุความถนัด จุดเด่นและสิ่งที่ควรพัฒนาของผู้รับการประเมิน) ครั้งที่ 1 ( 1 ต.ค. - 31 มี.ค. ของปีถัดไป ) ครั้งที่ 2 ( 1 เม.ย. - 30 ก.ย. )

แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ลักษณะของแบบประเมินแบบเก่า การประเมินใช้ความรู้สึกมาก ทำให้อาจมีปัญหาต่อความเที่ยงตรงในการประเมิน ไม่มีการเชื่อมต่อปัจจัยในการประเมินกับกลยุทธ์ขององค์กร การกำหนดคะแนน เพื่อให้ระดับผลงานไม่มีเกณฑ์ความหมายที่แน่ชัด จึงอาจทำให้ผู้บังคับบัญชาใช้ดุลยพินิจ โดยขาดมาตรฐาน ยังไม่มีการนำผลการปฏิบัติงานไปใช้ ในการบริหารงานบุคคลด้านอื่น

แนวทางการปรับปรุงแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน สิ่งที่ประเมินต้องสนับสนุนต่อกลยุทธ์องค์กร ระบบต้องจัดเก็บข้อเท็จจริงจากการปฏิบัติงาน เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาใช้ดุลยพินิจที่ถูกต้องในการประเมิน ผลจากการประเมินต้องแยกแยะผลงานของบุคลากรได้ นำไปใช้ในระบบบริหารงานบุคคลอื่นๆ ต่อไป ง่ายต่อการใช้งานของผู้บังคับบัญชาหน่วยงานต่างๆ

Process ของการประเมิน ผู้บริหารของแต่ละสำนัก HR หัวหน้างานฝ่าย หัวหน้างาน พนักงาน รับนโยบาย และ วางแผนงานของฝ่าย ในด้านปริมาณงาน กำหนดระยะเวลาทำงานและหน่วยงานที่รับผิดชอบ รับแผนงานจากฝ่าย กำหนดแผนงานและเป้าหมาย กระจายงานไปยังพนักงานที่รับผิดชอบ Coaching ระหว่างที่ปฏิบัติงาน ปฎิบัติงาน ประเมินการปฏิบัติงานของพนักงาน ประเมินผลงานของตัวเอง อนุมัติผลการประเมิน รวบรวมเอกสารประเมินเสนอผู้บริหารสำนัก พิจารณาผลการประเมิน Performance Feedback และหัวข้อการพัฒนา เลื่อนขั้นเงินเดือน/ วางแผนพัฒนาความสามารถ ปรับขั้นเงินเดือน/อบรมเพื่อพัฒนา รอบของการประเมินที่ 1 ภายในวันที่ 31 ตุลาคม ของทุกปี รอบของการประเมินที่ 2 ภายในวันที่ 30 เมษายน ของทุกปี

แบบฟอร์มการประเมินผลงาน บุคลากรระดับ 4 ขึ้นไป ส่วนที่ 1 การประเมินผลงาน ตามแผนงาน ส่วนที่ 2 การประเมินผลงาน ตามงานประจำ

แบบฟอร์มการประเมินผลงาน บุคลากรระดับ 4 ขึ้นไป ส่วนที่ 3 การประเมินขีดความ สามารถหลัก ส่วนที่ 4 เป้าหมายการพัฒนา ตนเอง

แบบฟอร์มการประเมินผลงาน บุคลากรระดับ 4 ขึ้นไป ส่วนที่ 5 สรุปคะแนน ส่วนที่ 6 การบันทีกประวัติ การลา ส่วนที่ 7 สรุปผลการประเมิน